กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติตัวของผู้ป่วยโรคเรื้อรังให้อยู่ดีมีสุข ในเขตเทศบาลนครสงขลา ปี ๒๕๖๐ ”

อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายเชาว์ สุชลสถิตย์ประธานชมรมบานไม่รู้โรย

ชื่อโครงการ โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติตัวของผู้ป่วยโรคเรื้อรังให้อยู่ดีมีสุข ในเขตเทศบาลนครสงขลา ปี ๒๕๖๐

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L7250-2-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติตัวของผู้ป่วยโรคเรื้อรังให้อยู่ดีมีสุข ในเขตเทศบาลนครสงขลา ปี ๒๕๖๐ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติตัวของผู้ป่วยโรคเรื้อรังให้อยู่ดีมีสุข ในเขตเทศบาลนครสงขลา ปี ๒๕๖๐



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติตัวของผู้ป่วยโรคเรื้อรังให้อยู่ดีมีสุข ในเขตเทศบาลนครสงขลา ปี ๒๕๖๐ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 64,350.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาด้านสุขภาพเป็นปัญหาสำคัญที่มีผลต่อภาวะเศรษฐกิจและสังคม ทั้งส่วนบุคคลครอบครัว ชุมชนและประเทศชาติ ดังนั้นการส่งเสริมค่านิยมที่ถูกต้องด้านสุขภาพจึงเป็นเรื่องสำคัญ หากได้ปลูกฝังและเสริมสร้างพฤติกรรมที่พึงประสงค์ได้ จะทำให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพที่ดี ตลอดจนแนวทางการควบคุมและป้องกันโรค ที่จะก่อให้เกิดผลเสียต่อภาวะสุขภาพของประชาชน ซึ่งการแพทย์แผนไทยเป็นกรรมวิธีทางภูมิปัญญาที่อิงความเป็นธรรมชาติ และสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนไทย อีกทั้งยังเป็นการรักษาความเจ็บป่วยแบบองค์รวม เป็นอีกทางเลือกหนึ่งด้านสุขภาพที่ประชาชนสามารถดูแลป้องกันตัวเองได้ ทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการเฝ้าระวังโรค ในการบำบัดรักษาโรคด้วยการแพทย์แผนไทย ได้ใช้วิธีการอย่างหลากหลาย เพื่อให้ได้ผลการรักษาทั้งทางร่างกายและจิตใจ และผู้ป่วยโรคเรื้อรังไม่มีการรวมกลุ่ม อย่างเข้มแข็งในการดูแลตนเองและแลกเปลี่ยนปัญหาทางด้านสุขภาพชมรมบานไม่รู้โรยได้เข้ามาเป็นแกนนำในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรังให้มีการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี ให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้
จากการดำเนินงานของชมรมบานไม่รู้โรย ซึ่งก่อตั้งเมื่อวันที่๒๖มีนาคม๒๕๕๐ ได้ดำเนินงานจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของชมรมอย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลา ๙ ปีแล้ว ปัจจุบันมีจำนวนสมาชิกทั้งหมด ๔๒๓ คน พบว่าสมาชิกและประชาชนทั่วไปให้ความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรมของชมรมบานไม่รู้โรย ได้แก่ การประชุมสมาชิกเป็นประจำทุกเดือน เพื่อเรียนรู้การดูแลตนเอง การส่งเสริมความรู้ด้านนวัตกรรมจากวิทยากรและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ จากสมาชิกด้วยกัน การจัดกิจกรรมพบปะสังสรรค์วันบานไม่รู้โรย กิจกรรมกีฬาสัมพันธ์นันทนาการ และตัวแทนชมรม เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของเทศบาลนครสงขลา ทำให้ชมรมบานไม่รู้โรยมีความเข้มแข็งเป็นที่รู้จักกัน อย่างกว้างขวาง ชมรมบานไม่รู้โรย ซึ่งเป็นแกนนำในการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จึงเห็นความสำคัญในการจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้ป่วยโรคเรื้อรังทั้ง๕๔ชุมชนในเขตเทศบาลนครสงขลา เพื่อให้การดูแลส่งเสริม ฟื้นฟูสุขภาพของผู้ป่วย พร้อมทั้งลดการใช้ยาแผนปัจจุบันในการรักษาและเพิ่มทางเลือกในการดูแลสุขภาพให้แก่ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย รวมทั้งผู้ป่วยสามารถนำกลับไปปฏิบัติใช้ที่บ้านเพื่อดูแลสุขภาพของตนเองได้ ไม่มีภาวะแทรกซ้อน สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้ อย่างปกติสุข จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อให้สมาชิกชมรมบานไม่รู้โรยมีสุขภาพที่แข็งแรง ลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง
  2. ๒.เพื่อให้สมาชิกชมรมบานไม่รู้โรยมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมการพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 423
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.สมาชิกชมรมบานไม่รู้โรยมีความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถและทักษะในการปฏิบัติตนเกี่ยวกับ การดูแลสุขภาพตนเองได้ถูกต้อง ๒.สมาชิกชมรมบานไม่รู้โรยมีการรวมกลุ่มและเข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง มีความเข้มแข็ง ๓.สมาชิกชมรมบานไม่รู้โรยมีความรักและความสามัคคีระหว่างสมาชิกด้วยกัน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ๓.  สรุปกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ ๑.  กิจกรรมประชุมเจ้าหน้าที่และคณะกรรมการชมรมบานไม่รู้โรย
        -  เพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการและรายละเอียดของกิจกรรมที่จะดำเนินการให้แก่สมาชิกชมรม       บานไม่รู้โรย  จัดประชุม ๑ ครั้ง ในวันที่  ๗  กุมภาพันธ์  ๒๕๖๐ ๒.  กิจกรรมเวทีการเรียนรู้นวัตกรรมและรูปแบบการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
        -  สมาชิกชมรมบานไม่รู้โรยมีความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถและทักษะในการปฏิบัติตน           เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองได้ถูกต้อง และเกิดการเรียนรู้นวัตกรรมและรูปแบบการดูแล         สุขภาพมากขึ้น โดยมีการจัดกิจกรรมเวทีการเรียนรู้นวัตกรรมและรูปแบบการดูแลสุขภาพ         ผู้ป่วยโรคเรื้อรังทุกวันพุธที่  ๒  ของเดือน
    *  วันที่    ๘  มีนาคม  ๒๕๖๐  เรื่อง  ๕ สุขอนามัยการนอน “วันนอนหลับโลก”   *  วันที่  ๑๒  เมษายน  ๒๕๖๐  เรื่อง  ฝึกอารมณ์ด้วยการเข้าจังหวะลีลาศ   *  วันที่  ๑๗  พฤษภาคม  ๒๕๖๐  เรื่อง  การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุ   *  วันที่  ๑๔  มิถุนายน  ๒๕๖๐  เรื่อง  3 อาหารลดความดันโลหิตสูง ป้องกันเส้นเลือด
                                                                        สมองแตก   *  วันที่  ๑๒  กรกฎาคม ๒๕๖๐  เรื่อง  การลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง   *  วันที่    ๙  สิงหาคม  ๒๕๖๐  เรื่อง อาหารและการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน ๓.  กิจกรรมเพื่อเชื่อมสัมพันธภาพระหว่างสมาชิกด้วยกัน     -  จัดกิจกรรมแข่งกีฬาของสมาชิกชมรมบานไม่รู้โรย โดยมีกิจกรรมเดินขบวนพาเหรดจากสวน       ๗๒ พรรษา มายังศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง มีการแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน เช่น สาลิกา         ป้อนเหยื่อ ตีกอล์ฟเกษตร ปิดตาตีปี๊ป  วิ่งซุปเปอร์แมน โยนโบว์ลิ่ง เป็นต้น ซึ่งจัดในวันที่
                    ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๐  ณ  อาคารอเนกประสงค์ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง เพื่อเชื่อม
                    สัมพันธภาพระหว่างสมาชิก มีความรัก ความสามัคคี ๔. กิจกรรมการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย   -  จัดกิจกกรมการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย โดยมีกิจกรรมเมนูชูสุขภาพ                 ลดหวาน มัน เค็ม กิจกรรมสมุนไพร แช่มือ แช่เท้า ซึ่งจัดในวันที่ ๔ สิงหาคม ๒๕๖๐
                    ณ  อาคารอเนกประสงค์ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง





    ๕.  สรุปการใช้งบประมาณ ๕.๑  งบประมาณที่ได้รับจัดสรร      จำนวนทั้งสิ้น  ๖๔,๓๕๐  บาท ๕.๒  งบประมาณที่ใช้จริง            จำนวนทั้งสิ้น  ๖๔,๓๕๐  บาท ดังรายการ       ๑.  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน    ๓๓,๒๕๐  บาท       ๒.  ค่าอาหารกลางวัน จำนวน    ๒๐,๐๐๐  บาท       ๓.  ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน      ๕,๑๐๐  บาท       ๔.  ค่าเมนูชูสุขภาพลดหวาน มัน เค็ม จำนวน         ๗๐๐  บาท       ๕.  ค่าสมุนไพรในกิจกรรมแช่มือ แช่เท้า จำนวน     ๑,๐๐๐    บาท                 ๖.  ค่าป้ายไวนิล จำนวน      ๑,๐๐๐    บาท                 ๗.  ค่าวัสดุ อุปกรณ์และอื่น ๆ ในการจัดกีฬาสัมพันธ์  จำนวน      ๓,๐๐๐    บาท       ๘.  ค่าจัดทำรูปเล่มสรุปโครงการ จำนวน        ๓๐๐    บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑.เพื่อให้สมาชิกชมรมบานไม่รู้โรยมีสุขภาพที่แข็งแรง ลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง
    ตัวชี้วัด : ๑.สมาชิกชมรมบานไม่รู้โรย มีอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนไม่เกิน ๕ %

     

    2 ๒.เพื่อให้สมาชิกชมรมบานไม่รู้โรยมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมการพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้
    ตัวชี้วัด : ๒.สมาชิกชมรมบานไม่รู้โรยมีความพึงพอใจในการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ > ๘๐%

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 423
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 423
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้สมาชิกชมรมบานไม่รู้โรยมีสุขภาพที่แข็งแรง ลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง (2) ๒.เพื่อให้สมาชิกชมรมบานไม่รู้โรยมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมการพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติตัวของผู้ป่วยโรคเรื้อรังให้อยู่ดีมีสุข ในเขตเทศบาลนครสงขลา ปี ๒๕๖๐ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L7250-2-12

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายเชาว์ สุชลสถิตย์ประธานชมรมบานไม่รู้โรย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด