กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี


“ โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ ในการจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อเข้าสู่ตำบลสุขภาวะ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จ.พัทลุง ประจำปี 2562 ”

ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางนงเยาว์ นิ่มละมัย

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ ในการจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อเข้าสู่ตำบลสุขภาวะ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จ.พัทลุง ประจำปี 2562

ที่อยู่ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-l3338-2-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ ในการจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อเข้าสู่ตำบลสุขภาวะ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จ.พัทลุง ประจำปี 2562 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ ในการจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อเข้าสู่ตำบลสุขภาวะ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จ.พัทลุง ประจำปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ ในการจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อเข้าสู่ตำบลสุขภาวะ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จ.พัทลุง ประจำปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 62-l3338-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 140,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และผลจากการพัฒนาด้านสุขภาพ ส่งผลให้อายุคาดเฉลี่ยคนไทยเพิ่มขึ้น อาจกล่าวได้ว่าสุขภาพโดยรวมของคนไทยดีขึ้น แต่เมื่อพิจารณาถึงวิถีชีวิต ของคนส่วนใหญ่ในประเทศเกษตรกรรม พบว่า ประเทศไทยมีโรคภัยที่เกิดจากมลพิษ โรคจากการประกอบอาชีพ พิษจากสารตกค้างมากขึ้น สังคมมีความเหลื่อมล้ำสูงทำให้เกิดปัญหาความเครียดและการเสื่อมเสียในด้านสุขภาพจิต ปัญหาผู้ติดสุรา ปัญหาสุขภาพจิตเกี่ยวข้องกับปัญหาความสัมพันธ์ในครอบครัวคนไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตรุนแรง ปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมส่งผลให้มีอุบัติการณ์โรคสูงขึ้นอย่างมาก เช่นโรคมะเร็ง โรคหัวใจและหลอดเลือด ความดันโลหิตสูงหรือกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ในประเทศไทยในช่วงปี 2557 ที่มีอัตราการเจ็บป่วยโรคหัวใจสูงเป็นอันดับหนึ่งโดยมีอุบัติการณ์สูงถึง 276.88 ต่อประชากรแสนคน โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคมะเร็ง มีอุบัติการณ์ 860.53, 675.75 และ 135.2 ต่อประชากรแสนคนตามลำดับความเจ็บป่วยจากโรคไร้เชื้อเรื้อรังเหล่านี้เกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงที่สามารถป้องกันได้ เช่นการสูบบุหรี่ การดื่มสุรา สิ่งมึนเมาสารเสพติดรวมทั้งเกิดจากความเครียดและการขาดการออกกำลังกาย นอกจากนี้โรคเอดส์มีแนวโน้มแพร่ระบาดในกลุ่มเยาวชนและแม่บ้าน ปัญหาอุบัติเหตุจากการจราจรนำความสูญเสียสู่สังคมไทยทั้งทางเศรษฐกิจ ความพิการและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ในสถานการณ์เปลี่ยนแปลงดังกล่าว ปัญหาที่มีความเชื่อโยงซับซ้อนยิ่งขึ้น การพัฒนาคนด้านสุขภาพเพื่อรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง รู้สาเหตุ และค้นหาวิธีการแก้ไขพัฒนาอย่างมีส่วนร่วมเพื่อให้เกิดความยั่งยืนเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะกำลังคนที่เป็นต้นทุนของสังคม คือ แกนนำสุขภาพ ซึ่งเป็นแบบอย่างของการดูแลสุขภาพกันเองขอชาวบ้าน การพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ โดยจัดกระบวนการเรียนรู้และฝึกทักษะด้านสุขภาพให้ แกนนำสุขภาพมีศักยภาพที่จะดูแลและถ่ายทอดความรู้ไปยังหลังคาเรือนที่รับผิดชอบ ตลอดจนสร้างกระแสให้เกิดการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม จึงเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นยิ่งนักและเป็นปัจจัยหนึ่งที่จะทำให้ แกนนำสุขภาพมีคุณภาพและสามารถปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาทได้ดียิ่งขึ้น     อสม.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนพระ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จึงจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ ในการจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อเข้าสู่ตำบลสุขภาวะ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จ.พัทลุง ประจำปี 2562 ขึ้น เพื่อเสริมสร้างให้ แกนนำสุขภาพ มีศักยภาพที่จะดูแลถ่ายทอดความรู้ไปยังหลังคาเรือนที่รับผิดชอบมีการจัดระบบสุขภาพในหมู่บ้าน สร้างมาตรฐานแนวปฏิบัติให้เกิดความเข้มแข็งของโครงสร้างชุมชน เกิดเวที่ประชาคมสุขภาพศูนย์การเรียนรู้ในชุมชน เป็นหมู่บ้าน ตำบลจัดการสุขภาพ ลดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน ตลอดจน ลดอัตราป่วยและตายในกลุ่มโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ โดยส่งผลให้เกิดการดูแลสุขภาพตนเองแบบยั่งยืน เข้าสู่ตำบลสุขภาวะ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนา บทบาทแกนนำให้เป็นผู้นำในการจัดการสุขภาพชุมชน ภายใต้ข้อมูลและปัญหาของชุมชน
  2. เพื่อส่งเสริมให้แกนนำมีโอกาสเรียนรู้ด้วยรูปแบบและวิธีการที่หลากหลาย
  3. เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพชุมชนแบบบูรณาการ
  4. เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านสุขภาพดี มีความรู้และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    แกนนำสุขภาพ มีโอกาสได้รับการพัฒนาศักยภาพของตนเอง ทั้งในด้านการบริหาร วิชาการและปฏิบัติเพื่อยกระดับการบริการประชาชนและมีหน้าที่ในการสร้างสุขภาพและบริการชุมชนของตนเอง เพื่อให้ประชากรสามารถพึ่งตนเองได้อย่างเป็นรูปธรรม รวมถึงแกนนำสุขภาพสามารถนำประสบการณ์ที่ได้รับไปใช้ในการศึกษาต่อเนื่องด้วนตนเอง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมและพัฒนา บทบาทแกนนำให้เป็นผู้นำในการจัดการสุขภาพชุมชน ภายใต้ข้อมูลและปัญหาของชุมชน
    ตัวชี้วัด : มีแกนนำสุขภาพทุกหมู่บ้านที่มีความรู้ความสามารถร่วมจัดการปัญหาสุขภาพในชุมชน
    1.00

     

    2 เพื่อส่งเสริมให้แกนนำมีโอกาสเรียนรู้ด้วยรูปแบบและวิธีการที่หลากหลาย
    ตัวชี้วัด : แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว มีความรู้ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพประจำครอบครัว ร่วมกับภาคีเครือข่ายสุขภาพตำบล
    1.00

     

    3 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพชุมชนแบบบูรณาการ
    ตัวชี้วัด : แกนนำสุขภาพมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของตนเองตามกลุ่มวัย มีการขยายเครือข่ายในชุมชนให้มีส่วนร่วมในการสร้างสุขภาพ
    1.00

     

    4 เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านสุขภาพดี มีความรู้และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : แกนนำสุขภาพประจำครอบครัวมีความรู้เกี่ยวกับการสร้างพฤติกรรมสุขภาพที่ดีในครอบครัวของตนเอง สามารถถ่ายทอดและให้การดูแลสุขภาพร่วมกับภาคีเครือข่ายสุขภาพตำบลได้อย่างยั่งยืน
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมและพัฒนา บทบาทแกนนำให้เป็นผู้นำในการจัดการสุขภาพชุมชน ภายใต้ข้อมูลและปัญหาของชุมชน (2) เพื่อส่งเสริมให้แกนนำมีโอกาสเรียนรู้ด้วยรูปแบบและวิธีการที่หลากหลาย (3) เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพชุมชนแบบบูรณาการ (4) เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านสุขภาพดี มีความรู้และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ ในการจัดการสุขภาพชุมชนเพื่อเข้าสู่ตำบลสุขภาวะ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จ.พัทลุง ประจำปี 2562 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 62-l3338-2-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนงเยาว์ นิ่มละมัย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด