กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส


“ โครงการ 4D รณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะมูลฝอยอย่างถูกวิธี ปี 2560 ”

ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสุภัทรียา ยูโซ๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการ 4D รณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะมูลฝอยอย่างถูกวิธี ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60/L2535/2/02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ 4D รณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะมูลฝอยอย่างถูกวิธี ปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ 4D รณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะมูลฝอยอย่างถูกวิธี ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ 4D รณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะมูลฝอยอย่างถูกวิธี ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60/L2535/2/02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะมูลฝอยนับว่าเป็นปัญหาสำคัญทั้งในระดับชุมชนและระดับประเทศ สาเหตุเนื่องมาจากประชากรในประเทศมีจำนวนมากขึ้น ชุมชนก็เพิ่มขึ้น สถานประกอบการต่างๆมีมากขึ้น และ สิ่งที่ตามมาอย่างเลี่ยงไม่ได้ก็คือ ขยะมูลฝอย ย่อมมีจำนวนมากขึ้นตามไปด้วย จนกระทั่งการกําจัดขยะมูลฝอยไม่สมดุลกับการเพิ่มขึ้นของจำนวนขยะมูลฝอย จึงมีขยะมูลฝอยที่เหลือตกค้างรอการกําจัดอยู่เป็นจำนวนมากแม้จะมีพื้นที่ที่จัดไว้ เพื่อรองรับขยะมูลฝอยแต่ก็ไม่เพียงพอกับปริมาณขยะมูลฝอยที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วสร้างปัญหาเป็นอย่างมากทั้งทางด้านทัศนวิสัยกลิ่น ความสะอาด และอาจก่อให้เกิดปัญหาขยะล้นเมืองได้
“ขยะมูลฝอย” ผู้คนส่วนมาก ละเลยและไม่เห็นคุณค่า ทั้งที่ขยะมูลฝอยเหล่านั้นหากนำมาคัดแยกอย่างถูกวิธีแล้วจะสามารถสร้างประโยชน์ได้ และยังสามารถนำกลับมาหมุนเวียนเข้ากระบวนการผลิตเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ได้อีกครั้ง ซึ่งเป็นการประหยัดทรัพยากรและเงินงบประมาณแผ่นดินได้เป็นจำนวนมาก รวมทั้งปริมาณขยะ มูลฝอยก็จะจำนวนลงได้มาก ซึ่งจะส่งผลดีทั้งต่อสิ่งแวดล้อม ต่อประชากร และต่อประเทศชาติต่อไป
เทศบาลตำบลปาเสมัส เป็นท้องถิ่นหนึ่งที่ประสบปัญหาด้านการจัดการขยะมูลฝอยเนื่องจากการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลได้เทกองบนพื้นดินทำให้เกิดมลพิษต่างๆ ตามมา เช่น ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน เกิดความสกปรกไม่สะอาดเรียบร้อย ทั้งยังเป็นบ่อเกิดของโรคภัยไข้เจ็บแก่ประชาชน รวมถึงปัญหาปริมาณขยะมูลฝอยที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องมาจากประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่มีการคัดแยกขยะมูลฝอยจากครัวเรือน จนทำให้พื้นที่ไม่สามารถที่จะรองรับปริมาณขยะได้ในอนาคต เนื่องจากมีข้อจำกัดของพื้นที่ในการจัดการเทศบาลตำบลปาเสมัสจึงได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะมูลฝอยอย่างถูกวิธีปี 2560 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนเกิดความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือนได้อย่างถูกวิธี เพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชน
  2. 2. เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในพื้นที่ของเทศบาล
  3. 3. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย และเกิดจิตสำนึกที่ดีในการรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชน
  4. 4. เพื่อส่งเสริมสุขภาพของประชาชนในการป้องกันโรคต่างๆ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆละ 50 บาท
  2. 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท
  3. 3. ค่าประชาสัมพันธ์
  4. 4. ค่าเอกสารและวัสดุประกอบการอบรม
  5. 5. ค่าวิทยากร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 104
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนตระหนักมีจิตสำนึก และร่วมมือในการคัดแยกขยะมูลฝอยจากครัวเรือน และสามารถนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้
  2. ปริมาณขยะมูลฝอยในเขตพื้นที่เทศบาลลดลงจากเดิม
  3. ชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่ดี น่าอยู่ และประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆละ 50 บาท

วันที่ 20 กันยายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

เป็นค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆละ 50 บาท จำนวน 104 คน เป็นเงิน 5,200 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

104 0

2. 4. ค่าเอกสารและวัสดุประกอบการอบรม

วันที่ 20 กันยายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

  • สมุดปกอ่อน จำนวน 100 บาท เล่มๆละ 5 บาท เป็นเงิน  500 บาท
  • ปากกา จำนวน 100 ด้ามละๆ 5 บาท  เป็นเงิน 500 บาท
  • พลาสติก จำนวน 100 เล่มๆละ 10 บาท เป็นเงิน  1000 บาท
  • รูปภาพการคัดแยกขยะโดยกิจกรรม 3 R จำนวน 100 แผ่นๆละ 5 บาท เป็นเงิน 500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

100 0

3. 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท

วันที่ 11 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

เป็นค่าอาหารว่างและเครื่่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 104 คน  เป็นเงิน 5,200 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วย

 

104 0

4. 3. ค่าประชาสัมพันธ์

วันที่ 11 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ไวนิลโครงการ ขนาด 1.2 x 3 เมตร จำนวน 1 ผืนๆละ 900 บาท เป็นเงิน 900 บาท
  • ไวนิลประชาสัมพันธ์ ขนาด 2 x 3.5 เมตร จำนวน 10 ผืนๆละ 1.750 บาท เป็นเงิน 17500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

0 0

5. 5. ค่าวิทยากร

วันที่ 11 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าจ้างวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท จำนวน 1 คน เป็นเงิน 3,600บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

1 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนเกิดความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือนได้อย่างถูกวิธี เพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชน
ตัวชี้วัด :

 

2 2. เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในพื้นที่ของเทศบาล
ตัวชี้วัด :

 

3 3. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย และเกิดจิตสำนึกที่ดีในการรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชน
ตัวชี้วัด :

 

4 4. เพื่อส่งเสริมสุขภาพของประชาชนในการป้องกันโรคต่างๆ
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 104
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 104
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนเกิดความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือนได้อย่างถูกวิธี เพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชน (2) 2. เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในพื้นที่ของเทศบาล (3) 3. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย และเกิดจิตสำนึกที่ดีในการรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชน (4) 4. เพื่อส่งเสริมสุขภาพของประชาชนในการป้องกันโรคต่างๆ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อๆละ 50 บาท (2) 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท (3) 3. ค่าประชาสัมพันธ์ (4) 4. ค่าเอกสารและวัสดุประกอบการอบรม (5) 5. ค่าวิทยากร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ 4D รณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะมูลฝอยอย่างถูกวิธี ปี 2560 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60/L2535/2/02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุภัทรียา ยูโซ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด