กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะยอ


“ โครงการอบรมผู้ปกครองของเด็กวัยก่อนเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเกาะยอ ปี 2562 รพ.สต.บ้านสวนเรียน ”

ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางอุไรพร จันทะโน

ชื่อโครงการ โครงการอบรมผู้ปกครองของเด็กวัยก่อนเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเกาะยอ ปี 2562 รพ.สต.บ้านสวนเรียน

ที่อยู่ ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5214-1-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมผู้ปกครองของเด็กวัยก่อนเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเกาะยอ ปี 2562 รพ.สต.บ้านสวนเรียน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะยอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมผู้ปกครองของเด็กวัยก่อนเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเกาะยอ ปี 2562 รพ.สต.บ้านสวนเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมผู้ปกครองของเด็กวัยก่อนเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเกาะยอ ปี 2562 รพ.สต.บ้านสวนเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5214-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 กุมภาพันธ์ 2562 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,010.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะยอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากผลการสำรวจภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 8 ปี 2560 พบผู้ปราศจากโรคฟันผุในเด็กอายุ 3 ปีร้อยละ 47.1 ในเด็กอายุ 5 ปี มีแนวโน้มการปราศจากโรคฟันผุเพิ่มขึ้นคือร้อยละ 24.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กก่อนวัยเรียน ทั้ง2 กลุ่มอายุประมาณร้อยละ 40.0 มีคราบจุลินทรีย์อยู่ในระดับเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผู พบฟันผุ ระยะเริ่มต้นในเด็กอายุ 3 ปี และ 5ปี ร้อยละ 31.1 และร้อยละ31.3 ตามลำดับ ซึ่งเด็กกลุ่มนี้จำเป็น ต้องได้รับการส่งเสริมป้องกันเพื่อไม่ให้เกิดฟันผุเป็นรู นอกจากจากนี้ยังพบว่าเด็กอายุ 5 ปี ร้อยละ 18.6 มีฟันกรามถาวรซี่ที่หนึ่งขึ้นในช่องปากแล้ว การให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพช่องปากตั้งแต่ช่วง ปฐมวัยจึงมีความสำคัญ และลดโอกาสเกิดฟันถาวรผุได้โดยสิ่งสำคัญที่ต้องเน้นย้ำเพิ่มเติมคือ พฤติกรรม ทันตสุขภาพที่พึงประสงค์ได้แก่ การแปรงฟันอย่างมีคุณภาพ และพฤติกรรมบริโภคนม แม้ว่า เด็กส่วนใหญ่จะแปรงฟันตอนเช้าก่อนมาโรงเรียน แต่พบว่าผู้ปกครองของเด็กอายุ 3ปีร้อยละ 44.1 ปล่อยให้เด็กแปรงฟันด้วยตนเอง และเมื่อเด็กโตขึ้นพบว่าในกลุ่มอายุ 5 ปี เด็กถูกปล่อยให้แปรงฟันเองถึงร้อยละ 80.4 มีเพียงร้อยละ 14.4 ที่ผู้ปกครองยังคงแปรงให้ พฤติกรรมดื่มนมเด็กอายุ 3 ปีและ 5 ปี ดื่มนมหวานและนมเปรี้ยวเื่ออยู่ที่บ้านถึงร้อยละ 44.5 และ 47.6 ตามลำดับ เด็กอายุ 3 ปี ร้อยละ 39.5 ใช้ขวดนมเมื่ออยู่ที่บ้าน และยังมีเด็กอายุ 5 ปี อีกร้อยละ 11.9 ทียังคงดูดนมจากขวด ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการการเกิดฟันผุ   ในส่วนของการตรวจสุขภาพช่องปากของ ศพด.วัดแหลมพ้อและศพด.วัดท้ายยอ ในเทอม 1 ปีการศึกษา 2561พบว่า ศพด.วัดแหลมพ้อมีฟันผุร้อยละ 30.43% วัดท้ายยอมีฟันผุร้อยละ 27.77 % ซึ่งการลุกลามของฟันผุในฟันน้ำนมจะลุกลามของฟันผุในฟันน้ำนมจะลุกลามสู่โพรงประสาทฟันได้เร็วกว่า ฟันแท้ เนื่องจากความหนาของเคลือบฟันและเนื้อฟันบางกว่าฟันแท้ และฟันผุในระยะเริ่มแรกสามารถลุกลามเป็นฟันผุระดับรุนแรงได้ในเวลาเพียง 6-12 เดือน อัตราการเป็นโรคจึงเพิ่มอย่างรวดเร็วมาก และเด็กที่เริ่มมีฟันผุในอายุน้อยจะมีการลุกลามของโรคได้เร็วกว่า รวมทั้งมีจำนวนฟันผุเพิ่มขึ้นมากกว่าด้วย
  ดังนั้น รพ.สต.บ้านสวนเรียน และรพ.สต.บ้านท่าไทร ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะยอจึงจัดอบรมผู้ปกครองเด็กในงานส่งเสริมทันตสุขภาพในศูนย์เด็กเล็ก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ปกครองมีทัศนคติที่ดีในการดูแลทันตสุขภาพเด็กเล็ก 2.เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพได้ กล่าว คือ -การแปรงฟันหลังเช้าและก่อนนอนทุกวัน พร้อมมีอุปกรณ์และการจัดเก็บอุปกรณ์ที่เหมาะสม - การจัดอาหารที่เหมาะสมและมีประโยชน์ - การตรวจฟันเด็ก - การแนะนำผู้ปกครองในการนำเด็กมารับบริการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 43
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้ปกครองสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของบุตรหลานได้ 2.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดี


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ผู้ปกครองมีทัศนคติที่ดีในการดูแลทันตสุขภาพเด็กเล็ก 2.เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพได้ กล่าว คือ -การแปรงฟันหลังเช้าและก่อนนอนทุกวัน พร้อมมีอุปกรณ์และการจัดเก็บอุปกรณ์ที่เหมาะสม - การจัดอาหารที่เหมาะสมและมีประโยชน์ - การตรวจฟันเด็ก - การแนะนำผู้ปกครองในการนำเด็กมารับบริการ
    ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองมีความรู้ และทัศนะคติที่ดีทางด้านทันตกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง หลังรับการอบรมดยดูจากแบบทดสอบหลังเข้ารับการอบรม
    1.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 43
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 43
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ปกครองมีทัศนคติที่ดีในการดูแลทันตสุขภาพเด็กเล็ก  2.เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพได้ กล่าว คือ -การแปรงฟันหลังเช้าและก่อนนอนทุกวัน พร้อมมีอุปกรณ์และการจัดเก็บอุปกรณ์ที่เหมาะสม - การจัดอาหารที่เหมาะสมและมีประโยชน์ - การตรวจฟันเด็ก - การแนะนำผู้ปกครองในการนำเด็กมารับบริการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมผู้ปกครองของเด็กวัยก่อนเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเกาะยอ ปี 2562 รพ.สต.บ้านสวนเรียน จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 62-L5214-1-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางอุไรพร จันทะโน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด