กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก


“ โครงการร่วมใส่ใจสุขภาพโรคเรื้อรัง ร่วมดูแลใกล้บ้าน ใกล้ใจ ”

ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายนิอาซิ นิจินิการี

ชื่อโครงการ โครงการร่วมใส่ใจสุขภาพโรคเรื้อรัง ร่วมดูแลใกล้บ้าน ใกล้ใจ

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L8302-1-8 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร่วมใส่ใจสุขภาพโรคเรื้อรัง ร่วมดูแลใกล้บ้าน ใกล้ใจ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร่วมใส่ใจสุขภาพโรคเรื้อรัง ร่วมดูแลใกล้บ้าน ใกล้ใจ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร่วมใส่ใจสุขภาพโรคเรื้อรัง ร่วมดูแลใกล้บ้าน ใกล้ใจ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L8302-1-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,790.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีผลกระทบมาจากกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกและการเปลี่ยนแปลงของประเทศไทยในทุกด้าน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อวิถีชีวิตและสุขภาพของประชาชนไทยเป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาถึงการดำเนินชีวิตของมนุษย์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน พบว่าวิถีการดำเนินชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี ล้วนส่งผลให้ประชาชนส่วนใหญ่คร่ำเคร่งกับการดำเนินชีวิตประจำวัน ส่งผลให้พฤติกรรมสุขภาพในด้านต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม รวมถึงละเลยต่อการออกกำลังกายทั้งโดยทางตรงและขาดการเคลื่อนไหวในลักษณะของการออกกำลังกายประจำวัน  จึงทำให้เกิดปัญหาสุขภาพในด้านต่าง ๆ ตามมาและเมื่อพิจารณาถึงโรคที่เป็นปัญหาสุขภาพของคนไทยในอดีตและปัจจุบันมีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน โดยในอดีตส่วนใหญ่จะเป็นลักษณะของโรคติดต่อ ปัจจุบันโรคเหล่านี้มีแนวโน้มลดลงโดยส่วนใหญ่แล้วเป็นโรคไม่ติดต่อ โรคที่เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ ตลอดจนโรคเรื้อรัง การมีภาวะสุขภาพที่ดีทั้งกายและใจเป็นสิ่งที่ทุกกคนพึ่งปรารถนา โดยที่การมีสุขภาพที่ดีมิได้หมายความเพียงแต่การไม่เจ็บป่วยหรือปราศจากโรคภัยไข้เจ็บเท่านั้น หากยังครอบคลุมถึงการมีสุขภาพที่สมบูรณ์ แข็งแรงของร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม ( กระทรวงสาธารณสุข , กรมอนามัย ; ๒๕๔๐ )
จากนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขและสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ได้สอดคล้องนโยบายตามกระจายงบประมารสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติส่งเสริมให้ประชาชนสร้าง นำซ่อม โดยมีเป้าหมายที่สำคัญคือการสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชนและลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว โดยมุ่งเน้นให้คนไทยเข้าถึงบริการด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคมากขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มเป้าหมายอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป ที่ปัญหาสุขภาพเจ็บป่วยจากพฤติกรรมทางสุขภาพและการบริโภคไม่ถูกต้องเสี่ยงต่อโรคกลุ่ม Metabolic ได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคอ้วนลงพุง โรคหลอดเลือดและสมอง ส่วนทางพันธุกรรม อายุ เป็นปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ แต่ปัจจัยที่สามารถควบคุมได้ เช่น ความอ้วน ความเครียด ขาดออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร สูบบุหรี่ ถ้าหากประชาชนไม่มีการควบคุมปัจจัยดังกล่าว ย่อมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคในกลุ่ม Metabolic เหล่านั้นได้ ถ้าพฤติกรรมไม่ดีอาจมีภาวะแทรกซ้อนขึ้นมาได้ ทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายในการดูแล เสียรายได้ ตลอดจนส่งผลทางด้านค่าใช้จ่ายรักษาพยาบาลของรัฐไปด้วย สถานการณ์โรคเรื้อรังจากกลุ่มโรคเมตาบอลิกเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญทั่วโลกสำหรับโรงพยาบาลพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านสะโล จากผลการคัดกรองในกลุ่มอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป(เฉพาะเขต เทศบาลตำบลมะรือโบตก ส่วน รพ.สต.บ้านสะโล) ทั้งหมด 706 คน คัดกรองได้ 698 คน ร้อยละ ๙8.86  ปัจจุบันมีผู้ป่วยเบาหวาน 15 คน มีภาวะเสี่ยงเบาหวาน 9 คน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 93 คน มีภาวะเสี่ยงเป็นความดันโลหิตสูง 95 คน ผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 61 คน จากข้อมูลแสดงถึงแนวโน้มความรุนแรงที่เป็นอันตรายเพิ่มมากขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านสะโล ได้ดำเนินการคัดกรองภาวะสุขภาพประชากรกลุ่มอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ในปี ๒๕๖1 พบว่า ประชากรมีระดับความเสี่ยงสูงที่จะเป็นผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่เพิ่มมากขึ้นทุกปีเช่นกัน การขับเคลื่อนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเป็นกลยุทธ์หนึ่งในการป้องกันและส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดโรคและผลกระทบจากภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น กอปรกับผู้ป่วยโรคเรื้อรังส่วนหนึ่งขาดการรักษาอย่างต่อเนื่องและขาดยาไปทำให้ไม่อยู่ในระบบการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง โดยมากแล้วไม่สะดวกในการเดินทาง ไม่มีใครนำพาไปรับยา ซึ่งอาจส่งผลทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคได้ รพ.สต.บ้านสะโล มีความพยามที่จะนำกลุ่มเหล่านี้ให้อยู่ในระบบการดุแลที่ถูกต้องและต่อเนื่อง จึงได้จัดทำโครงการร่วมใส่ใจสุขภาพโรคเรื้อรัง ร่วมดูแลใกล้บ้าน ใกล้ใจ ปี 2562 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างมีคุณภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๔. ป้ายโครงการ
  2. ฝึกทักษะการเรียนรู้ เชิงปฏิบัติการตามแบบ ๓อ. ๑ส. ในกลุ่มเสี่ยง(ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยง 104 คน)
  3. กิจกรรมให้ความรู้ เชิงปฏิบัติการเพื่อนช่วยเพื่อน(ต่อเนื่อง) และเยี่ยมสาธิตการการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง,ผู้ป่วยติดเตียง (ร้อยละ 20 ของผู้ป่วยเรื้อรังหมด 169 คน)
  4. กิจกรรมมหกรรมสุขภาพ NCD ดูแลสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรังแบบครบวงจร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 169
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อภาระโรค Metabolic ๒. ประชาชนตระหนัก และใส่ใจในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน สามารถจัดการสุขภาพตนเองโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้อย่างเหมาะสม ๓. ภาคีเครือข่ายมีบทบาทในการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค Metabolic ๔. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมการออกกำลังกายเพิ่มขึ้นสภาพร่างกายแข็งแรงจนสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดได้ และไม่มีภาวะแทรกซ้อนของโรคได้ในที่สุด ๕. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเข้าสู่ระบบการดูแลที่ถูกต้องและไม่มีการป่วยด้วยโรคแทรกซ้อน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมมหกรรมสุขภาพ NCD ดูแลสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรังแบบครบวงจร

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

มหกรรม NCD ดูแลสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรังแบบครบวงจร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนตระหนัก ใส่ใจในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

152 0

2. ๔. ป้ายโครงการ

วันที่ 2 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้าย 1 ผืน

 

0 0

3. ฝึกทักษะการเรียนรู้ เชิงปฏิบัติการตามแบบ ๓อ. ๑ส. ในกลุ่มเสี่ยง(ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยง 104 คน)

วันที่ 19 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ฝึกทักษะการเรียนรู้ เชิงปฏิบัติการ 3อ. 1ส.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมการออกกำลังกายเพิ่มขึ้นสภาพร่างกาย แข็งแรง

 

84 0

4. กิจกรรมให้ความรู้ เชิงปฏิบัติการเพื่อนช่วยเพื่อน(ต่อเนื่อง) และเยี่ยมสาธิตการการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง,ผู้ป่วยติดเตียง (ร้อยละ 20 ของผู้ป่วยเรื้อรังหมด 169 คน)

วันที่ 19 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ และเยี่ยมสาธิตการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเข้าสู่ระบบการดูแลที่ถูกต้องและไม่มีการป่วยด้วยโรคแทรกซ้อน

 

34 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
10.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 169
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 169
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๔. ป้ายโครงการ (2) ฝึกทักษะการเรียนรู้ เชิงปฏิบัติการตามแบบ  ๓อ. ๑ส. ในกลุ่มเสี่ยง(ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยง 104 คน) (3) กิจกรรมให้ความรู้ เชิงปฏิบัติการเพื่อนช่วยเพื่อน(ต่อเนื่อง) และเยี่ยมสาธิตการการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง,ผู้ป่วยติดเตียง (ร้อยละ 20 ของผู้ป่วยเรื้อรังหมด 169 คน) (4) กิจกรรมมหกรรมสุขภาพ NCD ดูแลสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรังแบบครบวงจร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการร่วมใส่ใจสุขภาพโรคเรื้อรัง ร่วมดูแลใกล้บ้าน ใกล้ใจ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L8302-1-8

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนิอาซิ นิจินิการี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด