กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ”

อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุภาวดีอินทร์ชัย อสม.ชุมชนพาณิชย์สำโรง

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L7250-2-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-2-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,600.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสภาพการดำเนินชีวิตที่เร่งรีบในยุคปัจจุบัน ส่งผลให้พฤติกรรมการใช้ชีวิตของผู้คนทั่วทุกมุมโลกเปลี่ยนไปจากเดิม นิยมรับประทานอาหารจานด่วน อาหารสำเร็จรูป ไม่มีเวลาพักผ่อน และออกกำลังกาย แต่มีเวลาดื่มสังสรรค์ และสูบบุหรี่เพื่อเข้าสังคม รวมถึงภาวะเครียด สิ่งต่างๆ เหล่านี้ ล้วนนำมาซึ่งการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-Communicable Diseases : NCDs) หรือที่เรียกว่า“โรควิถีชีวิต”ไม่ว่าจะเป็น โรคเบาหวาน ความดัน มะเร็ง อ้วนลงพุง หลอดเลือดสมอง และหัวใจ ซึ่งเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญระดับประเทศและระดับโลก นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้น ซึ่งหากไม่สามารถหยุดพฤติกรรมดังกล่าวจะส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังพิการและเสียชีวิตตามมานอกจากนี้ยังสร้างภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาและก่อให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจตามมา เพราะการป้องกันโรคภัยไข้เจ็บที่ดีที่สุด มีแต่ตัวของเราเองเท่านั้นที่ “ทำได้” หากเริ่มต้นลงมือเปลี่ยนแปลงตัวเองตั้งแต่วันนี้การมีสุขภาพดีก็จะตามมา จากข้อมูลการดำเนินงานการเฝ้าระวังควบคุมโรคไม่ติดต่อในเขตศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข ปี๒๕๕9พบว่า ประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองสุขภาพร้อยละ 91.84 พบกลุ่มเสี่ยง 387 คน คิดเป็นร้อยละ 11.19 พบกลุ่มเสี่ยงสูง 59 คน คิดเป็นร้อยละ 1.71
จากปัญหาดังกล่าว อสม.และแกนนำชุมชนได้เล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันเฝ้าระวังและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจึงหาแนวทางในการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง เพื่อสร้างความเข้าใจถึง สาเหตุที่แท้จริงของการเกิดโรค พร้อมทั้งส่งเสริมให้เกิดความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิต อันเป็นปัจจัยสำคัญของการป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโดยมีเป้าหมายการลดปัจจัยเสี่ยงและป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ประชากรกลุ่มเสี่ยงสูงได้รับการติดตามดูแลสุขภาพไม่เป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่สามารถดูแลสุขภาพตัวเองได้กลับไปเป็นกลุ่มปกติ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    3.  สรุปกิจกรรม ที่ได้ดำเนินการ มีดังนี้ 1. กิจกรรมประชุมชี้แจงและติดตาม – ประเมินผล 2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส.
    3. กิจกรรมติดตามประเมินผลกลุ่มเสี่ยง เดือนละครั้ง โดยบัดดี้คู่หู อสม. 1 คน : กลุ่มเสี่ยง 2 คน


    5.  สรุปการใช้งบประมาณ 5.1  งบประมาณ ที่ได้รับจัดสรร จำนวน  21,600  บาท 5.2  งบประมาณ ที่ใช้จริง จำนวน  21,580  บาท ดังรายการ 1.  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน    5,000  บาท 2.  ค่าอาหารกลางวัน จำนวน    7,500  บาท 3.  ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน    1,800  บาท 3.  ค่าคู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง จำนวน    2,000  บาท 4.  ค่าวัสดุครุภัณฑ์ทางการแพทย์ จำนวน    4,980  บาท 4.  ค่าจัดทำรูปเล่ม จำนวน        300  บาท รวมทั้งสิ้น      จำนวน    21,580  บาท เงินคงเหลือ จำนวน          20  บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่
    ตัวชี้วัด : ๑. กลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังที่เข้าร่วมโครงการได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ๘๐

     

    2
    ตัวชี้วัด : 2. กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังเกิดเป็นกลุ่มป่วยรายใหม่น้อยกว่าร้อยละ5

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่ (2)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L7250-2-14

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุภาวดีอินทร์ชัย อสม.ชุมชนพาณิชย์สำโรง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด