กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการ พัฒนาปรับปรุงสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ในเขตศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข ”

อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
( พลฯเชือบแก้วคีรีวรรณ ประธานอสม.ชุมชนศาลาเหลืองเหนือ

ชื่อโครงการ โครงการ พัฒนาปรับปรุงสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ในเขตศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L7250-2-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ พัฒนาปรับปรุงสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ในเขตศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ พัฒนาปรับปรุงสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ในเขตศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ พัฒนาปรับปรุงสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ในเขตศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,300.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อเป็นโรคที่สามารถแพร่กระจายไปสู่คนอื่นได้แต่ก็สามารถป้องกันได้ องค์ประกอบของการเกิดโรค ประกอบด้วยบุคคลเชื้อโรคพาหะนำโรค และสิ่งแวดล้อมซึ่งในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ จะต้องควบคุมปัจจัยดังกล่าว ไม่ให้เอื้อต่อการเกิดโรค คือ บุคคล ต้องมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์เชื้อโรคต้องไม่มีหรือมีจำนวนน้อย พาหะนำโรคไม่มีหรือมีน้อย และที่สำคัญคือสิ่งแวดล้อมต้องถูกสุขลักษณะไม่เอื้อต่อการเกิดโรค โดยเฉพาะสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยของบุคคลต้องสะอาดถูกสุขลักษณะจึงจะทำให้ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของเชื้อโรค และการปรับปรุงควบคุมหรือรักษาสภาพแวดล้อม ให้สะอาดถูกสุขลักษณะเป็นสิ่งที่ประชาชนในทุกหมู่บ้าน/ทุกชุมชนทำได้ปฏิบัติได้ในวิถีชีวิตประจำวันของแต่ละบุคคลแต่ละหลังคาเรือน ซึ่งหมู่บ้านใดชุมชนใดมีการปรับปรุงรักษาความสะอาดของที่พักอาศัยให้ได้มาตรฐานเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง ก็จะเป็นการป้องกันโรคติดต่อต่างๆในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ประชาชนในชุมชนนั้นๆมีสุขภาพที่แข็งแรง ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อและไม่สามารถแพร่กระจายเชื้อได้ ซึ่งการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคติดต่อจะได้ผลจะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกคน ทุกหลังคาเรือน ทุกภาคส่วนจึงจะได้ผลอย่างยั่งยืน
ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุขรับผิดชอบพื้นที่๗ชุมชนชุมชนศาลาเหลืองเหนือศาลาเหลืองบ่อหว้าภราดรพาณิชย์สำโรงริมคลองสำโรงและต้นโพธิ์ เป็นชุมชนในเขตเมืองที่ประสบปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมเพราะเป็นชุมชนแออัดอยู่อาศัยอย่างหนาแน่นมีการจัดเก็บและกำจัดขยะมูลฝอยไม่ถูกต้องมีปัญหาของการระบายน้ำทำให้ขยะไปอุดตันทางระบายน้ำเกิดน้ำท่วมขังกลายเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายจากสถิติผู้ป่วยไข้เลือดออกในปี ๒๕๕๘ -๒๕๕๙มีจำนวน ๑๕ และ ๔๖รายตามลำดับและจากการสำรวจลูกน้ำยุงลายในครัวเรือน ค่า HI = ๑๓.๕ จากผลกระทบดังกล่าว อสม.และแกนนำทั้ง ๗ ชุมชนจึงได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชนเพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีจิตสำนึกในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมทั้งที่บ้านและชุมชนโดยให้ประชาชนร่วมกันจัดเก็บและกำจัดขยะให้ถูกต้อง รณรงค์สำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายป้องกันไม่ให้ยุงเกิดและไม่ให้ยุงกัดเพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญในชุมชน
  2. ๒. เพื่อลดอัตราป่วยไข้เลือดออกป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของโรคติดต่อในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ทั้ง ๗ ชุมชนมีสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพการป้องกันควบคุมคุมโรคติดต่ออันส่งผลให้จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกและโรคติดต่อ ลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    3.  สรุปกิจกรรม ที่ได้ดำเนินการ มีดังนี้ 1. กิจกรรมประชุมชี้แจงและติดตามการดำเนินงาน 2. กิจกรรมสำรวจกำจัดลูกน้ำยุงลาย ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในชุมชนชุมชนละ 4 ครั้ง 3. กิจกรรมรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่างๆ 2 ครั้ง

    5.  สรุปการใช้งบประมาณ 5.1  งบประมาณ ที่ได้รับจัดสรร จำนวน  45,300  บาท 5.2  งบประมาณ ที่ใช้จริง จำนวน  45,300  บาท ดังรายการ 1.  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน  19,500  บาท 2.  ค่าอาหารกลางวัน จำนวน  21,000  บาท 3.  ค่าจัดทำไวนิล เป็นเงิน    3,500  บาท 3.  ค่าถ่ายเอกสาร จำนวน    1,000  บาท 4.  ค่าจัดทำรูปเล่ม จำนวน        300  บาท รวมทั้งสิ้น      จำนวน    29,750  บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญในชุมชน
    ตัวชี้วัด : ๑. จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชนลดลง

     

    2 ๒. เพื่อลดอัตราป่วยไข้เลือดออกป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของโรคติดต่อในชุมชน
    ตัวชี้วัด : ๒. ค่า HI ≤ ๑๐

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญในชุมชน (2) ๒. เพื่อลดอัตราป่วยไข้เลือดออกป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของโรคติดต่อในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ พัฒนาปรับปรุงสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชน ในเขตศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L7250-2-15

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ( พลฯเชือบแก้วคีรีวรรณ ประธานอสม.ชุมชนศาลาเหลืองเหนือ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด