กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก


“ โครงการปอเนาะจัดการขยะ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ”

ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอัดนัน อาแวบือซา

ชื่อโครงการ โครงการปอเนาะจัดการขยะ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L8302-2-22 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปอเนาะจัดการขยะ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปอเนาะจัดการขยะ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปอเนาะจัดการขยะ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L8302-2-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,275.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาวการณ์ในปัจจุบัน กิจกรรมการดำเนินชีวิตของผู้คนเป็นอย่างรีบเร่ง แม้กระทั่งนักเรียนในโรงเรียนก็มีวิธีการดำเนินชีวิตที่ไม่แต่ต่างกับคนที่ใช้ชีวิตในเมืองใหญ่ ได้รับสิ่งปนเปื้อนสารพิศจากการบริโภคและการอำนวยความสะดวกในการใช้ชีวิตประจำวันที่เรียกว่า ขยะ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพร่างกายของนักเรียนในโรงเรียนอย่างมาก เพราะการที่เราทิ้งขยะทุกประเภทรวมกันโดยไม่แยกนั้น ทำให้ขยะที่สามารถนำมาใช้ใหม่ได้ (Reuse) และขยะที่สามารถนำไปรีไซเคิลได้ (Recycle) ถูกทิ้งรวมไปกับขยะเปียกทั้งหลาย และอาจจะไม่ได้ถูกนำมาใช้ประโยชน์ได้อีก และที่อันตรายก็คือขยะที่เป็นสารพิศพวกบรรจุภัณฑ์สารเคมี กระป๋องยาฉีดกันยุง ถ่านไฟฉาย หลอดไฟ ซึ่งมีสารเคมีฉาบไว้ สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นสารเคมีก็จะไหลลงสู่พื้นดิน ถ้าถูกเผาก็จะทำให้เป็นก๊าซพิษลอยขึ้นไปในอากาศหรือถ้าฝั่ง กระบวนการย่อยสลายก็จะทำให้สะสมในพื้นดิน เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและเป็นสาเหตุหนึ่งของภาวะโลกร้อน ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญยิ่งของโลกปัจจุบันเพื่อมุ่งเน้นป้องกันแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมและโลกร้อน
      ทางโรงเรียนประทีปวิทยาได้เล้งเห็นความสำคัญของสิ่งแวดล้อมจึงมีการจัดโครงการแยกขยะลดโลกร้อน โดยมีการจัดอบรมให้กับบุคคลากรและนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการจัดแยกขยะทีถูกวิธีและปฏิบัติได้ถูกต้องระหว่างขยะเปียก แก้ว พลาสติก ส่วนขยะที่เป็นอันตรายสามารถนำไปกำจัดอย่างถูกวิธี และขยะเปียกบางส่วนทำเป็นปุ๋ยหมักชีวภาพ/น้ำหมักชีวภาพ และขยะรีไซเคิลสามารถเพิ่มรายได้ให้กับนักเรียนไม่มากก็น้อย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนหน่วยงานที่มีนโยบายจัดการขยะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้คณะกรรมการคัดแยกขยะโรงเรียน
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะให้แกนนำนักเรียน
  3. กิจกรรมรับซื้อขยะรีไซเคิล
  4. กิจกรรมการทำปุ๋ยหมัก/น้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหาร
  5. กิจกรรมถังขยะเปียก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 250
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.บุคลากรและนักเรียนมีความรู้ในการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี ปฏิบัติได้ถูกต้อง 2.สามารถลดรายจ่าย เพิ่มรายได้จากการขายขยะรีไซเคิล       3.บุคลากรและนักเรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้การมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาขยะของโรงเรียน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมรับซื้อขยะรีไซเคิล

วันที่ 3 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมรับซื้อขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถลดรายจ่าย เพิ่มรายได้จากการขายขยะรีไซเคิล

 

0 0

2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้คณะกรรมการคัดแยกขยะโรงเรียน

วันที่ 6 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

-ถอดบทเรียนปัญหาขยะ -วางแผนการจัดการขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการแยกขยะจำพวกกระดาษ ขวดพลาสติก และ จำพวกเหล็กต่างๆ มีการขายขยะตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงกันยายน 2,769 บาท

 

30 0

3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะให้แกนนำนักเรียน

วันที่ 13 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บุคลากรมีความรู้ในการคัดแยกขยะ สามารถนำขยะนำมาขายให้กับเทศบาลได้ในราคาที่สูง

 

250 0

4. กิจกรรมการทำปุ๋ยหมัก/น้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหาร

วันที่ 13 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมการทำปุ๋ยหมัก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บุคลากรและนักเรียนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาขยะในโรงเรียน

 

0 0

5. กิจกรรมถังขยะเปียก

วันที่ 13 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

แยกขยะเปียกหรือขยะอินทรีย์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมนำขยะเปียกหรือขยะอินทรีย์มาทิ้งในถังขยะเปียกที่นักเรียนได้ทำไว้ ซึ่งช่วยลดขยะได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนหน่วยงานที่มีนโยบายจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : จำนวนหน่วยงาน/องค์กรที่มีนโยบายจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)
4.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 250
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนหน่วยงานที่มีนโยบายจัดการขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้คณะกรรมการคัดแยกขยะโรงเรียน (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะให้แกนนำนักเรียน (3) กิจกรรมรับซื้อขยะรีไซเคิล (4) กิจกรรมการทำปุ๋ยหมัก/น้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหาร (5) กิจกรรมถังขยะเปียก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปอเนาะจัดการขยะ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L8302-2-22

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอัดนัน อาแวบือซา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด