กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผักผลไม้ ”

ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางแวฟาตีเมาะ ดีแม

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผักผลไม้

ที่อยู่ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ L4145/62/08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 31 ตุลาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผักผลไม้ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผักผลไม้



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผักผลไม้ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ L4145/62/08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 31 ตุลาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพของประชาชนในปัจจุบันพบว่ามีความซับซ้อนมากขึ้นตาม การเปลี่ยนแปลงของสังคมเศรษฐกิจความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและแบบแผนการดำเนินชีวิต ส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วย ทั้งโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ ซึ่งโรคไม่ติดต่อบางอย่างเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ของบุคคล เช่นการบริโภคที่ไม่เหมาะสมขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และการจัดการกับความเครียด สิ่งเหล่านี้ก่อให้เกิดโรคไม่ติดต่อ โดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่อที่เรื้อรัง หากไม่ได้รับการดูแลและรักษาอย่างต่อเนื่องในระยะแรกๆอาจจะไม่แสดงอาการของโรคให้เห็นทำให้เกิดการละเลยได้ไม่สนใจในการดูแลรักษาสุขภาพตนเองอาจทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนซึ่งไม่สามารถแก้ไขหรือรักษาให้หายขาดได้ และมักจะนำไปสู่ความทุกข์และภาวะทุพลภาพ หรืออาจจะรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต มักจะเกิดความผิดปกติของอวัยวะที่สำคัญ เช่น หัวใจ ตา สมอง ไต ระบบประสาท โรคเหล่านี้จะเป็นภาวะเสี่ยงในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ซึ่งจะเป็นกลุ่มวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ระบบการทำงานของร่างกายเริ่มมีความเสื่อมสภาพลงเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้ง่ายแต่โรคนี้ก็สามารถควบคุมได้โดยการตรวจสุขภาพและการควบคุมการรับประทานอาหาร การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และรักษาอย่างต่อเนื่องรวมทั้งการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง และเหมาะสม เป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดเป็นนโยบายและยุทธศาสตร์ในการควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อ ดังคำขวัญที่ว่า “ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และสามารถพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้” มุ่งเน้นการสร้างสุขภาพเชิงรุกโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนสนับสนุนให้เกิดการสร้างสุขภาพโดยเน้นให้ตระหนักและใส่ใจสุขภาพร่วมกันดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน เพื่อให้เกิดการมีสุขภาพดี ไม่เป็นโรคที่ไม่ควรเป็นหรือป้องกันได้
จากผลการดำเนินงาน ปี 2561 ด้านสาธารณสุข ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปาแดรู  หมู่ที่ 1, 3,5 ได้ดำเนินการคัดกรองภาวะเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไป พบว่าความครอบคลุมการคัดกรองร้อยละ 98.68 และแยกกลุ่มปกติ จำนวน 824 คน  ร้อยละ 77.59 กลุ่มเสี่ยง จำนวน106 คน ร้อยละ9.99 และกลุ่มเสี่ยงสูง 132 คนร้อยละ12.32 ซึ่งกลุ่มเหล่านี้หากมีพฤติกรรมในการดูแลตนเองที่ถูกต้องอาจส่งผลต่อภาวะสุขภาพที่ดีลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานภาวะแทรกซ้อน
ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปาแดรู อำเภอยะหา จังหวัดยะลา ได้ตระหนักถึงปัญหาที่จะเกิดขึ้นตามมา หากกลุ่มต่างๆมีพฤติกรรม ที่ไม่ถูกต้องอาจส่งผลต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานหรือเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆตามมาตลอดจนการเกิดโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับกาตรวจคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวานครอบคลุมมากกว่าร้อยละ 90 2. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตควบคุมความดันได้ดีมากกว่า ร้อยละ 50โรคเบาหวานควบคุมน้ำตาลได้ดี มากกว่าร้อยละ 40 3. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตและโรคเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มากกว่าร้อยละ 70 4. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป กลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีการปฏิบัติตนที่ถูกต้องและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องไม่เกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานร้อยละ 90 และส่งต่อ
              โรงพยาบาลรายที่พบผิดปกติทุกคน ประเมินจากรายงานโรคไม่ติดต่อโปรแกรม HCIS/HDC
    2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/เสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูงเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดย เจ้าหน้าที่/อาสาสมัครสาธารณสุขและได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง
    3. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปาแดรูสามารถจัดบริการสาธารณสุขได้อย่างมีประสิทธิภาพและ      ทั่วถึง ประชาชนมีความพึงพอใจในบริการ ภาคีเครือข่ายและชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการและ      ดำเนินงานสาธารณสุข และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปาแดรู ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับดี

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับกาตรวจคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวานครอบคลุมมากกว่าร้อยละ 90 2. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตควบคุมความดันได้ดีมากกว่า ร้อยละ 50โรคเบาหวานควบคุมน้ำตาลได้ดี มากกว่าร้อยละ 40 3. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตและโรคเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มากกว่าร้อยละ 70 4. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป กลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีการปฏิบัติตนที่ถูกต้องและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องไม่เกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : วัตถุประสงค์ 1.ประชาชนอายุ35ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวานครอบคลุมมากกว่าร้อยละ 90 2. กลุ่มป่วยเป็นโรคความดันโลหิตควบคุมความดันได้ดีมากกว่าร้อยละ 50โรคเบาหวานควบคุมน้ำตาลได้ดี มากกว่าร้อยละ 40 3. กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตและโรคเบาหวานได้รับ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มากกว่าร้อยละ 70 4 กลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีการปฏิบัติตนที่ถูกต้องและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ 70 วัตถุประสงค์ 1.ประชาชนอายุ35ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวานครอบคลุมมากกว่าร้อยละ 90 2. กลุ่มป่วยเป็นโรคความดันโลหิตควบคุมความดันได้ดีมากกว่าร้อยละ 50โรคเบาหวานควบคุมน้ำตาลได้ดี มากกว่าร้อยละ 40 3. กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตและโรคเบาหวานได้รับ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มากกว่าร้อยละ 70 4 กลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีการปฏิบัติตนที่ถูกต้องและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ 70 วัตถุประสงค์ 1.ประชาชนอายุ35ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวานครอบคลุมมากกว่าร้อยละ 90 2. กลุ่มป่วยเป็นโรคความดันโลหิตควบคุมความดันได้ดีมากกว่าร้อยละ 50โรคเบาหวานควบคุมน้ำตาลได้ดี มากกว่าร้อยละ 40 3. กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตและโรคเบาหวานได้รับ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มากกว่าร้อยละ 70 4 กลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีการปฏิบัติตนที่ถูกต้องและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร้อยละ 70
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์        1. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับกาตรวจคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวานครอบคลุมมากกว่าร้อยละ 90          2. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตควบคุมความดันได้ดีมากกว่า            ร้อยละ 50โรคเบาหวานควบคุมน้ำตาลได้ดี มากกว่าร้อยละ 40        3.  เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตและโรคเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม  มากกว่าร้อยละ 70        4.  เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป กลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีการปฏิบัติตนที่ถูกต้องและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องไม่เกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผักผลไม้ จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ L4145/62/08

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางแวฟาตีเมาะ ดีแม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด