กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอิ่มท้อง สมองใส โรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวศุภราภรณ์ ปางนิติคณากร




ชื่อโครงการ โครงการอิ่มท้อง สมองใส โรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่)

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7258-2-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2562 ถึง 20 กันยายน 2562

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอิ่มท้อง สมองใส โรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอิ่มท้อง สมองใส โรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอิ่มท้อง สมองใส โรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2562 - 20 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 466,975.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

๑. หลักการและเหตุผล การพัฒนาคนให้มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ ให้มีความสามารถใน การเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ตามศักยภาพเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในการพัฒาชาติอย่างยั่งยืน แต่ปัญหาสุขภาพ ของประชาชนเป็นปัญหาระดับชาติที่เกิดจากการละเลยด้านโภชนาการของคนทั่วโลกรวมถึงคนไทย กลายเป็น ปัญหาที่รัฐบาลต้องจัดสรรงบประมาณให้กับการบริรทางด้นสรารณสุขพื่อดูแลสุขภาพชองคนไทย แทนที่จะ ใช้ไปเพื่อพัฒาประทศค้านอื่นๆโภชนากรจึงป็นรื่องผู้กี่ยวข้องต้องร่วมมือกันโดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหา ของโรงเรียนคือเด็กบางส่วนไม่ได้รับประทานอหารช้างเป็นมื้อที่สำคัญในการพัฒนาสมองแต่ผู้ปกครอง กลับไม่ได้ให้ความสำคัญซึ่งบินปัญหากระทบกับโรงรียนจัดรรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพส่วนอีก ปัญหาหนึ่งขอด็กก็คือภาะทุโชนการด็กรัวนด็กผอมบัญหดังกลำวหากพ่อแม่รังสิ่งแวดล้อมต่ง า ให้หมะสมสมองของขาก็จะดิบโดและพัฒนได้ย่งต็มที่ควมสบูรณ์ของสมองในชวงนี้ คือรากฐานสำคัญ ของชีวิตและความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ประกอบกับชวงวัยเรียนป็นวัยที่กำลังเจริญติบโตมีความต้องการอาหาร ครบทั้ง๕หมู่ทำให้ดีกมีติปัญญาฉลียวอาดถ้ำต๊กด้รับประหนอหาพี่มีประโมนก็จะทำห้ร่งกาย แข็งแรงสมบูรณ์ไม่มีอุปสดต่อการเรียนรู้และการเจริญติบโตของร่งกายเมื่อท้องอิ่มจิตใจก็แจ่มใส เบ่งบาน พร้อมเปิดรับกับการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ การดำเนินการ์แก้ไขปัญหาเด็กไม่ได้รับประทานอาหารช้และภาวะทุพโภชนาการถือเป็นหน้าที่ของ โรงเรียนที่จะต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาซึ่งเป็นไปตามพระราชบัญญัติกรศึกษาแห่งชาติ พศ. ๒๕๔๐ หมวด ๑ บ้วความุมายและหลักการมหรกรดกรศึษอนไปเพื่อพันาคนพยให้เป็นมนุษย์ที่ สมบูรณ์ทั้งร่งกายจิตใจสติปัญญความรู้และคุณรมมีจริยธรมและวัฒนรรมในการดำรงชีวิตสามารถอยู่ ร่วมกับผู้ได้อย่างมีความสุขและสอดคล้องกับพระราชกิจจานุเบกษาประกาศคณะอนุกรรมการและป้องกันโรค รายต้คณะกรมกาหลักประกัสุนภาแห่งชาติเรื่องบริการสธารณสุของกองทุนหลักประกันสุขภาพใน ระดับท้องถิ่นหรือพื้นทีพศ.๒๕๕๗ก๊กรรมบริกาสาธารณสุขตามกลุ่มปหมายเฉพาะตามประกาศแนบทัย ลงวันที่ อ มีนาคม๕๗ข้อ๓. ลุ่มเด็กวัยเรียนและยาวชนและระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครหาดใหญ่เรื่องการดำเนินงานและบริหารจัตการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือ พื้นที่ พ.ศ. ๒๕๕๙ ข้อ ๗ (๑) ผลการดำเนินโครงการฯประจำบึงบประมาณพ.๒๕๖ดโรงเรียนเทศบาลด(เอ็งเสียงสามัคคี) พบว่า นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการทั้งหมดจำนวน ๒๗คนมีความพึงพอใจในระดับมากขึ้นไปร้อยละ ๙๖๒๕ และ นักเรียนจำนวน ๑๓๐คน มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกฑ์คิดเป็นร้อยละ๕๗๒๗ ซึ่งนับเป็นโครงการฯ ที สามารถแก้ปัญหาเรื่องการับประทานอาหารช้และภาวะทุพโภชนาการที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง โรงเรียนเทศบาล ด(อ็งเสียงสามัคคีจึงดำเนินโครงการฯอย่างต่อเนื่องโดยมีการสำรวจนักเรียนที่ ไตรับประหนอหารช้และนักเรียที่มีภาวะทุพโภชนการเพิ่มเติมพบว่ในปีงบประมาณพ.ส. ๒๕๖๒มี นักเรียนที่จำเป็นต้องเข้ร่วมครงการจำนวน๒๙ดนโยมีความมุ่งหวังพื่อช่วยให้นักเรียนได้รับประทาน อาหารเช้าที่มีคุณคำทางโภขนาการและครบ๕หมู่มีพัฒนาการสมวัยมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน มีสมาธิเกิดความพร้อมในกรเรียนรู้สู่การเป็นเด็กที่มีสติปัญญาฉลาดสมวัย ๒. วัตถุประสงศ์/ตัวชี้วัด ๑.เพื่อส่งเริมสุขภาพหนักเรียโดยห้นักเรียที่มีภวะทุพโภชนารไดัรับประทานอาหารเข้ที่มื คุณคำทางสารอาหารคบ๕หมู่ และมีพัฒนาการสมวัย ตัวชี้วัด นักเรียนได้รับประทานอหารช้าที่มีคุณค่ทางสารอหารและมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ ๑๐๐ ๒. เพื่อให้นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ ได้รับประทานอาหารเข้าที่มีคุณภาพ ๓ เพื่อให้ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มป้หมายมองห็นคามสำคัญของการรับประทานอาหารเข้า ตัวขี้วัด นักเรียนที่บัญหาภาวพกนการจำพวน ๒๙สคน มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มาตรฐานร้อยละ ๙๐ ๓. กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมายเชิงปริมาณ นักเรียนโรงเรียนเทศบาลด(อ็งเสียงสามัคคีเทศบาลนครหาดใหญ่ จำนวน ๒๙๗ คน แยกได้ดังนี้ ๑) เต็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภขนาการ จำนวน ๒๙๗ คน ๒) จัดให้มีการประชุมผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มป้หมายใหม่จำนวน๒๐๐คน เพื่อรับฟังความสำคัญ ของการรับประทานอาหารเช้าสำหรับเด็กในวัยเรียน เป้าหมายเชิงคุณภพ นักเรียนได้รับประทานอาหารช้าที่มีคุณคำทางสารอาหาร และเห็นคุณค่า ความสำคัญของการรับประทานอาหารเข้า ๔, วิธีการดำเนินงาน ๑. เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลภาวะโภชนาการเด็กนักเรียนข้อมูลปีงบประมาณที่ผ่านมา เพื่อเขียนเสนอโครงการ ๒ เสนอโครงการเพื่อขอรับงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อขออนุมัติงบประมาณ ๓. คัดเลือกนักเรียนที่มีภาวะโภขนาการและด้อยโอกาสการเข้าถึงอาหารเช้า และดำเนินการจัด ทำอาหารเข้าให้เด็ก ๓๑ คัดเลือกนักเรียนฯโดยทำการคัดเลือกเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ จำนวน 297 คน ๔. ติดตามประเมินผล ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงและแปลผล โดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโต สำหรับเด็ก เมื่อสิ้นสุดกิจกรรม ๕. ประชุมทีมงานเพื่อรวบรวมข้อมูลโครงการและทำการวิเคราะห์ข้อมูล ๖. แจ้งข้อมูลภาวะโภชนาการนักเรียนให้แก่ผู้ปกครอง ๗. สรุปการดำเนินกิจกรรมให้กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครหาดใหญ่ ๗.๑เอกสารรูปเล่มฉบับสมบูรณ์ให้กองทุน ๑ เล่ม ๗.๒ แผ่น CO โครงการ ๙. ผลที่คาดว่าจะได้รับ นักเรียนในโรงเรียนเทบาล๑(อ็งเสียงสมัคคี)ได้รับประทานอหารเข้ที่มีคุณคำทางสารอาหาร มีพัฒนาการสมวัยมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มาตรฐาน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพให้นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางสารอาหารครบ ๕ หมู่และมีพัฒนาการสมวัย
  2. ๒. เพื่อนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพ
  3. ๓. เพื่อให้ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มป้าหมายมองเห็นความสำคัญของการรับประทานอาหารเช้า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียน
  2. กิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย
  3. กิจกรรมสรุปผลดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียนโรงเรียนเทศบาล ๒ (บ้านหาดใหญ่) ได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางโภชนาการและครบ ๕หมู่ มีพัฒนาการสมวัย มีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน มีสมาธิเกิดความพร้อมในการเรียนรู้ สู่การเป็นเด็กที่มีสติปัญญาฉลาดสมวัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมสรุปผลดำเนินงาน

วันที่ 26 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำเอกสารสรุปผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เอกสารสรุปผลโครงการจำนวน 4 เล่ม

 

0 0

2. กิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 26 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย เรื่อง อาหารมื้อเช้าสำคัญ  สมองใส

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนได้รับอาหารครบหลักตามโภชนาการ

 

175 0

3. กิจกรรมการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียน

วันที่ 26 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ให้นักเรียนได้รับประทานอาหารครบ5หมู่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ให้นักเรียนได้รับอาหารถูกหลักตามโภชนาการ

 

222 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑.เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพให้นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางสารอาหารครบ ๕ หมู่และมีพัฒนาการสมวัย
ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณคำทางสารอหารและมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ ๑๐๐
0.00

 

2 ๒. เพื่อนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุฟโภชนาการจำนวน๒๒๐คนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ ๙๐
0.00

 

3 ๓. เพื่อให้ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มป้าหมายมองเห็นความสำคัญของการรับประทานอาหารเช้า
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพให้นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางสารอาหารครบ ๕ หมู่และมีพัฒนาการสมวัย (2) ๒. เพื่อนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพ (3) ๓. เพื่อให้ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มป้าหมายมองเห็นความสำคัญของการรับประทานอาหารเช้า

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียน (2) กิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย (3) กิจกรรมสรุปผลดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอิ่มท้อง สมองใส โรงเรียนเทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7258-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวศุภราภรณ์ ปางนิติคณากร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด