กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ อสม. นครหาดใหญ่ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2562 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางกัณฑิมา ไพรสนธิ์




ชื่อโครงการ โครงการ อสม. นครหาดใหญ่ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2562

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7258-2-17 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อสม. นครหาดใหญ่ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม. นครหาดใหญ่ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อสม. นครหาดใหญ่ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-2-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 129,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อไวรัสซึ่งมียุงลายเป็นพาหะนำโรค โรคนี้มีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปีเพราะมียุงลายชุกชุม  และพบว่าประชากรที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกมากที่สุด ได้แก่ กลุ่มเด็กวัยเรียนที่มีอายุตั้งแต่ 5 -14 ปี แต่ปัจจุบันยังพบผู้ป่วยไข้เลือดออกในผู้ใหญ่และมีการเกิดโรคตลอดทั้งปี ซึ่งนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในชุนชน เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล
โรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่  ยังเป็นภัยคุกคามประชาชนซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขที่ทุกภาคส่วนต้องช่วยกันแก้ไข  ซึ่งปัจจัยสำคัญที่ทำให้โรคไข้เลือดออกระบาดในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ เนื่องจากบ้านเรือนอยู่อย่างหนาแน่น  ทำให้ยุงที่มีเชื้อโรคจากบ้านผู้ป่วย  สามารถบินไปกัดคนอื่นๆ ที่อยู่บ้านใกล้เคียงบ้านผู้ป่วยได้ง่าย  ประกอบกับประชาชนการขาดความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก ป้องกันควบคุมโรคไม่ถูกต้อง ไม่ถูกวิธี และไม่ต่อเนื่อง บ้านเรือนประชาชนส่วนใหญ่  ยังไม่ได้กำจัดลูกน้ำยุงลายอย่างจริงจัง จึงทำให้มียุงลายเกิดขึ้นใหม่ในชุมชนเพิ่มขึ้นอยู่เรื่อย ๆ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขเทศบาลนครหาดใหญ่  ตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก และการจะแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกให้ประสบผลสำเร็จได้นั้น ประชาชนต้องมีความรู้ที่ถูกต้องเพื่อให้เกิดความตระหนัก และเกิดความร่วมมือกันระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน โดยเฉพาะอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ซึ่งเป็นจิตอาสาในชุมชน มีหน้าที่แก้ข่าวร้าย กระจายข่าวดี ชี้บริการ ประสานงานสาธารณสุข เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี  หาก อสม.  ทุกชุมชนมีความรู้ที่ถูกต้องและพร้อมใจกันก็จะเป็นพลังชุมชนในการช่วยกันดูแล ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกที่จะเกิดขึ้นกับประชาชน  และเชื่อได้ว่า ชาวนครหาดใหญ่จะปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก  และมีคุณภาพชีวิตที่ดี  ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขเทศบาลนครหาดใหญ่จึงได้จัดทำโครงการ อสม. นครหาดใหญ่ร่วมใจ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกขึ้น เพื่อให้ อสม. แกนนำชุมชน ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก และมีศักยภาพในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนในชุมชน 2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก และการป้องกันควบคุมโรคที่ถูกวิธี ให้อสม. แกนนำชุมชนให้มีศักยภาพในการช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน 3. เพื่อให้ อสม. ประชาชนในชุมชนเกิดพฤติกรรมในการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในครัวเรือนและชุมชนอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ 4. เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือ การทำงานแบบมีส่วนร่วมระหว่างหน่วยงาน แกนนำชุมชน และประชาชนในการแก้ไขปัญหา และควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สื่อสารและประชาสัมพันธ์
  2. รณรงค์ประชาสัมพันธ์
  3. ครุภัณฑ์และวัสดุอุปกรณ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อสม. แกนนำชุมชน ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก ตระหนักถึงพิษภัยของไข้เลือดออก และสามารถช่วยกันป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนได้     2. สามารถควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายได้เป็นอย่างดี และผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนลดลง
    1. ชุมชนมีความเข้มแข็งด้านการป้องกันโรคไข้เลือดออก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. รณรงค์ประชาสัมพันธ์

วันที่ 26 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

เดินรณรงค์แจกแผ่นพับให้คนในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนได้รับแผ่นพับทุกครัวเรือน

 

0 0

2. สื่อสารและประชาสัมพันธ์

วันที่ 26 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ไวนิลและแผ่นพับประชาสัมพันธ์โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถประชาสัมพันธ์โครงการได้ทั่วถึงทุกพื้นที่

 

1,000 0

3. ครุภัณฑ์และวัสดุอุปกรณ์

วันที่ 26 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อเครื่องเสียงและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เครื่องเสียง -วัสดุอุปกรณ์

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนในชุมชน 2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก และการป้องกันควบคุมโรคที่ถูกวิธี ให้อสม. แกนนำชุมชนให้มีศักยภาพในการช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน 3. เพื่อให้ อสม. ประชาชนในชุมชนเกิดพฤติกรรมในการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในครัวเรือนและชุมชนอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ 4. เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือ การทำงานแบบมีส่วนร่วมระหว่างหน่วยงาน แกนนำชุมชน และประชาชนในการแก้ไขปัญหา และควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 1. จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในชุมชนลดลง 2. ชุมชนมีจำนวนหลังคาเรือนที่พบลุกน้ำยุงลาย ไม่เกินร้อยละ 10 (HI < 10) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 ของชุมชนทั้งหมด 3. ชุมชนต่าง ๆ มีการดำเนินกิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างถูกวิธี และมีความต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของชุมชนทั้งหมด
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.  เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนในชุมชน 2.  เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก และการป้องกันควบคุมโรคที่ถูกวิธี  ให้อสม. แกนนำชุมชนให้มีศักยภาพในการช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน 3.  เพื่อให้ อสม.  ประชาชนในชุมชนเกิดพฤติกรรมในการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในครัวเรือนและชุมชนอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ  4.  เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือ  การทำงานแบบมีส่วนร่วมระหว่างหน่วยงาน แกนนำชุมชน  และประชาชนในการแก้ไขปัญหา  และควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สื่อสารและประชาสัมพันธ์ (2) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ (3) ครุภัณฑ์และวัสดุอุปกรณ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ อสม. นครหาดใหญ่ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2562 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7258-2-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกัณฑิมา ไพรสนธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด