กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน


“ โครงการห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น ”

อาคารอเนกประสงค์หมู่ที่ 2 บ้านกลาง ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางอุไรวรรณ ลีสุรพงศ์

ชื่อโครงการ โครงการห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น

ที่อยู่ อาคารอเนกประสงค์หมู่ที่ 2 บ้านกลาง ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1485-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 31 พฤษภาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อาคารอเนกประสงค์หมู่ที่ 2 บ้านกลาง ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น " ดำเนินการในพื้นที่ อาคารอเนกประสงค์หมู่ที่ 2 บ้านกลาง ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L1485-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2562 - 31 พฤษภาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,025.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)     ปัจจุบันความก้าวหน้าด้านการแพทย์และสาธารณสุข ส่งผลให้จำนวนและสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วโดยสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุเพิ่มจากร้อยละ ๑๐.๗ ในปี ๒๕๕๐ (๗.๐ ล้านคน) เป็นร้อยละ ๑๑.๘ (๗.๕ ล้านคน) ในปี ๒๕๕๓ และร้อยละ ๒๐.๐ (๑๔.๕ ล้านคน) ในปี ๒๕๖๘ (สำนักงานสถิติแห่งชาติ,๒๕๕๑) นับว่าอัตราการเข้าสู่ “ภาวะประชากรสูงอายุ (Population Ageing)” เร็วมาก ซึ่งหมายความว่าประเทศไทยมีเวลาสั้นมากที่จะเตรียมการเพื่อรองรับประชากรผู้สูงอายุ ทั้งในด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ  และสังคม     ผู้สูงอายุต้องการผู้ดูแลในการทำกิจกรรมประจำวัน จากการตรวจสุขภาพโดยการตรวจร่างกายพบว่าผู้สูงอายุวัย ปลาย (อายุ ๘๐ ปีขึ้นไป) ต้องมีคนดูแลบางเวลาร้อยละ ๕๒.๒ และต้องมีคนดูแลตลอดเวลา ร้อยละ ๑๐.๒ (เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม,๒๕๔๗) อายุยิ่งสูงยิ่งเจ็บป่วย จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี ๒๕๕๐ พบว่า ร้อยละ ๖๙.๓ ของประชากรในกลุ่มอายุ ๖๐ - ๖๙ ปี เป็นโรคเรื้อรังและพบเพิ่มขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น และเพิ่มขึ้นเป็น ๘๓.๓ ในกลุ่มที่มีอายุ ๙๐ ปีขึ้นไป จากสถานการณ์ดังกล่าว อันทำให้ผู้สูงอายุและผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุมีแนวโน้มเจ็บป่วยมากและเร็วขึ้น สำหรับผู้สูงอายุในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำแคลง มีจำนวน 500 คน ผลการประเมินการทำกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน (ADL) เป็นผู้สูงอายุที่ติดสังคม ร้อยละ ๙๕.๖๕ ติดบ้าน ร้อยละ ๓.๑๐ และติดเตียงร้อยละ ๑.๒๔
เนื่องจากในปัจจุบันโรคเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญมากจากการวิเคราะห์ข้อมูลผู้สูงอายุของรพ.สต.บ้านลำแคลงที่เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังมีทั้งหมด 156 คน แบ่งเป็นโรคความดันโลหิตสูง 113 คน เป็นโรคเบาหวาน 43 คน ซึ่งผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรังอาจนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงและเสียชีวิตได้ เช่น โรคไตวาย โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง จะเห็นได้ว่าผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรังมีโอกาสเกิดภาวะทุพลภาพได้ง่าย ทำให้เกิดผลกระทบทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และเศรษฐกิจ ที่อาจนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ลดลงได้ นอกจากผู้สูงอายุจะป่วยเป็นโรคเรื้อรังแล้วยังมีโรคข้อเข่าเสื่อมที่เกิดจากความเสื่อมตามสภาพร่างกายที่จะต้องได้รับการดูแลสร้างเสริมสุขภาพให้มีสุขภาพการเป็นอยู่ที่ดีขึ้น       ดังนั้นรพ.สต.บ้านลำแคลง เป็นหน่วยบริการสาธารณสุขปฐมภูมิชั้นแนวหน้าด้านการจัดการสุขภาพของอำเภอปะเหลียน โดยการมีส่วนร่วมจากชุมชนและภาคีเครือข่ายเพื่อสุขภาวะที่ดีในการส่งเสริมชุมชน ผสมผสานภูมิปัญญาท้องถิ่น  ด้วยวีถีความพอเพียงอยู่แล้ว  การทำโครงการห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นนี้จะเป็นวิธีหนึ่งที่จะสามารถเชื่อมโยงบูรณาการงานชมรมสร้างสุขภาพในชุมชนให้มีศักยภาพยิ่งขึ้น อนึ่งการมีตัวแทนจัดบริการโดยตรงแก่ผู้สูงอายุในครัวเรือนด้วยการแพทย์แผนไทยนี้ จะเป็นการเสริมสร้างจริยธรรมและรักษาวัฒนธรรมไทยเป็นกระบวนการสร้างความรักเอาใจใส่  ดูแลผู้สูงอายุในครัวเรือนตลอดจนได้ทดแทนพระคุณบุพการี  ส่งเสริมสร้างวีถีครอบครัวอบอุ่นสังคมเข้มแข็งได้ยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1.เพื่อให้ผู้ดูแลและผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องการดูแลตนเอง
  2. ข้อที่ 2.เพื่อกระตุ้นระบบไหลเวียนโลหิตลดอาการชาในกลุ่มผู้สูงอายุ
  3. ข้อที่ 3.เพื่อลดอาการปวดเมื่อยตามร่างกายด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมหลัก..อบรมให้ความรู้ เรื่องโรคที่เกิดกับผู้สูงอายุ เรื่องการนวดแผนไทย เรื่องเทคนิควิธีการฝึกท่าฤาษีดัดตน ฝึกนวดท่าฤาษีดัดตน
  2. 2. กิจกรรมหลัก...อบรมให้ความรู้ 2.1 กิจกรรมย่อย... วิทยากร โดย นางนิตยา เลิศวิโรจน์ ตำแหน่งผู้ช่วยแพทย์แผนไทยจากรพ.สต.บางด้วน เรื่องการนวดฝ่าเท้า วิธีการนวดฝ่าเท้า อาการเบื้องต้นที่เกิดกับผู้สูงอายุ ฝึกนวดฝ่าเท้า
  3. 3.กิจกรรมหลัก...อบรมให้ความรู้ กิจกรรมย่อย... วิทยากร โดย นางนิตยา เลิศวิโรจน์ ตำแหน่งผู้ช่วยแพทย์แผนไทยจากรพ.สต.บางด้วน เรื่องการนวดเพื่อผ่อนคลาย วิธีการนวดเพื่อผ่อนคลาย อาการเบื้องต้นที่เกิดกับผู้สูงอายุ(ต่อจากวันที่2) ฝึกนวดเพื่อผ่อนคลาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุได้มีความรู้และสามารถนำกลับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
  2. ผู้สูงอายุในชุมชนได้รู้จักทำท่าบริหารช่วยกระตุ้นระบบไหลเวียนโลหิตลดอาการชาได้
  3. ผู้สูงอายุในชุมชนสามารถลดอาการปวดเมื่อยตามร่างกายด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1.เพื่อให้ผู้ดูแลและผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องการดูแลตนเอง
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ดูแลและผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องการดูแลตนเองสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
50.00

 

2 ข้อที่ 2.เพื่อกระตุ้นระบบไหลเวียนโลหิตลดอาการชาในกลุ่มผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : 2.ผู้ดูแลและผู้สูงอายุได้รู้จักทำท่าบริหารช่วยกระตุ้นระบบไหลเวียนโลหิดลดอาการชาได้
50.00

 

3 ข้อที่ 3.เพื่อลดอาการปวดเมื่อยตามร่างกายด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : 3.ผู้สูงอายุสามารถลดอาการปวดเมื่อยตามร่างกายได้ด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1.เพื่อให้ผู้ดูแลและผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องการดูแลตนเอง (2) ข้อที่ 2.เพื่อกระตุ้นระบบไหลเวียนโลหิตลดอาการชาในกลุ่มผู้สูงอายุ (3) ข้อที่ 3.เพื่อลดอาการปวดเมื่อยตามร่างกายด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมหลัก..อบรมให้ความรู้ เรื่องโรคที่เกิดกับผู้สูงอายุ      เรื่องการนวดแผนไทย      เรื่องเทคนิควิธีการฝึกท่าฤาษีดัดตน      ฝึกนวดท่าฤาษีดัดตน (2) 2. กิจกรรมหลัก...อบรมให้ความรู้ 2.1 กิจกรรมย่อย... วิทยากร โดย นางนิตยา เลิศวิโรจน์  ตำแหน่งผู้ช่วยแพทย์แผนไทยจากรพ.สต.บางด้วน เรื่องการนวดฝ่าเท้า วิธีการนวดฝ่าเท้า อาการเบื้องต้นที่เกิดกับผู้สูงอายุ ฝึกนวดฝ่าเท้า (3) 3.กิจกรรมหลัก...อบรมให้ความรู้  กิจกรรมย่อย...  วิทยากร โดย นางนิตยา เลิศวิโรจน์  ตำแหน่งผู้ช่วยแพทย์แผนไทยจากรพ.สต.บางด้วน  เรื่องการนวดเพื่อผ่อนคลาย  วิธีการนวดเพื่อผ่อนคลาย  อาการเบื้องต้นที่เกิดกับผู้สูงอายุ(ต่อจากวันที่2)  ฝึกนวดเพื่อผ่อนคลาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการห่วงใยสุขภาพผู้สูงอายุด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1485-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอุไรวรรณ ลีสุรพงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด