กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ขอนคลาน


“ โครงการหนูน้อยกินผัก รักสุขภาพ ประจำปี 2562 ”

ตำบลขอนคลาน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวจารุวรรณ มาลาสัย

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยกินผัก รักสุขภาพ ประจำปี 2562

ที่อยู่ ตำบลขอนคลาน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62 - L5291 - 3 -01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 20 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยกินผัก รักสุขภาพ ประจำปี 2562 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลขอนคลาน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ขอนคลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยกินผัก รักสุขภาพ ประจำปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยกินผัก รักสุขภาพ ประจำปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลขอนคลาน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62 - L5291 - 3 -01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กุมภาพันธ์ 2562 - 20 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,420.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ขอนคลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโภชนาการเกินและภาวะขาดสารอาหารในเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นปัญหาสำคัญที่ควรให้ความสำคัญและทุกคนจะต้องร่วมมือกันเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างจริงจัง ซึ่งมีเด็กไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐ ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านขอนคลาน สาเหตุสำคัญที่ทำให้เด็กวัยเรียน ผอม เตี้ย อ้วน เพราะพฤติกรรมทางโภชนาการและสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ การกินอาหารไม่ครบ 3 มื้อ กินผัก ผลไม้น้อยลง การบริโภคขนมกรุบกรอบและน้ำอัดลมเพิ่มขึ้น และกิจกรรมทางกายและการออกกำลังกายน้อยลง ล้วนเป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเด็กไทย โดยเฉพาะอาหารที่ไม่เป็นที่โปรดปรานของเด็ก เห็นจะไม่พ้น ผัก และผลไม้ ซึ่งเป็นอาหารที่จะให้สารพวกวิตามินทั้งหลาย อันเป็นตัวการสำคัญในกระบวนการเจริญเติบโต และพัฒนาการต่าง ๆ ของเด็กโดยเฉพาะในเด็กปฐมวัยซึ่งเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจอารมณ์ สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญ เหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐาน เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะเด็กปฐมวัย เป็นระยะที่ร่างกายและสมอง มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด เพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน อาหารและภาวะโภชนาการที่ดี เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็ก
แต่ในปัจจุบันมีเด็กก่อนวัยเรียน ไม่ค่อยชอบทานผัก หรือถ้าหากได้ทานผัก ผักส่วนใหญ่ผู้ปกครองจะซื้อมาจากตลาด ทำให้เด็กอยู่ในภาวะความเสี่ยงทางด้านสุขภาพอย่างน่าเป็นห่วง เนื่องจากเด็กต้องบริโภคอาหารผัก ที่ไม่ปลอดภัยไม่ปลอดสารพิษ ทำให้มีการสะสมสารพิษภายในร่างกายเป็นระยะเวลานาน    อาจก่อให้เกิดภาวะความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและการเกิดโรคชนิดต่าง ๆ ได้และแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะความเสี่ยงด้านสุขภาพต้องให้กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายที่กระตุ้นให้เด็ก และผู้ปกครอง ได้เห็นคุณค่าและความสำคัญของการดูแลสุขภาพที่สามารถปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน การส่งเสริมกิจกรรมทางสุขภาพที่มีความหลากหลายวิธีควบคู่กันไป จะช่วยสร้างโอกาสให้สุขภาพเด็กไทยได้รับการคุ้มครองอย่างปลอดภัย ในการนี้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านขอนคลาน ได้เล็งเห็นความสำคัญของประโยชน์ของผัก ภาวะโภชนาการและการดูแลสุขภาพในเด็กก่อนวัยเรียน จึงได้จัดทำโครงการ หนูน้อยกินผัก รักสุขภาพขึ้น  ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านขอนคลาน เพื่อให้เด็กได้ลงมือปลูกผักด้วยตัวเอง ได้ทานผักที่ปลอดสารพิษ เพื่อจะได้มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง  มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย  เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และผู้ประกอบอาหารกลางวันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็ก
  2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเสริมสร้างสุขลักษณะนิสัยอันดีเกี่ยวกับการบริโภคผักผลไม้
  3. เพื่อส่งเสริมให้เด็กปลูกผักปลอดสารพิษด้วยตนเอง
  4. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กมีสุขอนามัยที่ดีและเหมาะสมตามเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 58
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 58
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และผู้ประกอบอาหารกลางวันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก    มีความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็ก       2. เด็กสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเสริมสร้างสุขลักษณะนิสัยอันดีเกี่ยวกับการบริโภคผักผลไม้       3. เด็กปลูกผักด้วยตนเอง       4. เด็กมีสุขอนามัยที่ดีและเหมาะสมตามเกณฑ์

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และผู้ประกอบอาหารกลางวันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็ก
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และผู้ประกอบอาหารกลางวันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ ความเข้าใจ
    0.00

     

    2 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเสริมสร้างสุขลักษณะนิสัยอันดีเกี่ยวกับการบริโภคผักผลไม้
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภคผักผลไม้
    0.00

     

    3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กปลูกผักปลอดสารพิษด้วยตนเอง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 เด็กได้รับประทานผักปลอดสารพิษ
    0.00

     

    4 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กมีสุขอนามัยที่ดีและเหมาะสมตามเกณฑ์
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 เด็กมีสุขอนามัยที่ดี และเหมาะสมตามเกณฑ์
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 116
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 58
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 58
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก  เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง  และผู้ประกอบอาหารกลางวันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้  ความเข้าใจ  ถึงภาวะโภชนาการในเด็ก (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและเสริมสร้างสุขลักษณะนิสัยอันดีเกี่ยวกับการบริโภคผักผลไม้ (3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กปลูกผักปลอดสารพิษด้วยตนเอง (4) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กมีสุขอนามัยที่ดีและเหมาะสมตามเกณฑ์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการหนูน้อยกินผัก รักสุขภาพ ประจำปี 2562 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 62 - L5291 - 3 -01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวจารุวรรณ มาลาสัย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด