โครงการ อบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน ม.12
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ อบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน ม.12 ”
มัสยิดบ้านทุ่งสุเหร่า หมู่ที่ ๑๒ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางประโลม อุ่นนวล ตำแหน่ง ประธานอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ ๑๒ ตำบลปะเหลียน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน
เมษายน 2562
ชื่อโครงการ โครงการ อบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน ม.12
ที่อยู่ มัสยิดบ้านทุ่งสุเหร่า หมู่ที่ ๑๒ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 62-L1485-2-15 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 30 เมษายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ อบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน ม.12 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน มัสยิดบ้านทุ่งสุเหร่า หมู่ที่ ๑๒ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ อบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน ม.12
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ อบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน ม.12 " ดำเนินการในพื้นที่ มัสยิดบ้านทุ่งสุเหร่า หมู่ที่ ๑๒ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L1485-2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2562 - 30 เมษายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล(ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ในปัจจุบันจะเห็นได้ว่าโครงสร้างประชากรไทยอยู่ในระยะที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยประชากรสูงอายุ (อายุ ๖๐ ปีขึ้นไป) มีจำนวนและสัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเป็นถึงร้อยละ ๑๐ ของประชากร หรือ ๖.๓ ล้านคน(กรมอนามัย:๒๕๔๙) ในปัจจุบันส่งผลกระทบต่ออัตราส่วนภาระพึ่งพิงของประชากร ซึ่งเป็นเครื่องชี้วัดถึงความได้เปรียบทางประชากรในการพัฒนาประเทศ ขณะเดียวกันผู้สูงอายุมีอายุยืนยาวขึ้นมีปัญหาด้านสุขภาพ โรคภัยไข้เจ็บ ความพิการและทุพพลภาพเพิ่มมากขึ้น จึงส่งผลกระทบต่อการเพิ่มของความต้องการค่าใช้จ่ายด้านการดูแลรักษาพยาบาลดังนั้นเมื่อจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นในอนาคตจะเป็นภาระสำคัญสำหรับรัฐบาลในการหามาตรการรองรับด้านการรักษาพยาบาล สังคมไทยจะเริ่มต้นสู่สังคมผู้สูงอายุในอีก ๖ ปี ข้างหน้า การมีนโยบายสุขภาพเชิงรุกสำหรับผู้สูงอายุ ย่อมทำให้ประชากรสูงอายุมีศักยภาพ สุขภาพ และปัญญาความรู้เพิ่มขึ้นที่จะส่งเสริมเศรษฐกิจของประเทศและป้องกันการเจ็บป่วย พิการ ทุพพลภาพ ตลอดจนการลดค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาสุขภาพทั้งในปัจจุบันและในอนาคตจากการสำรวจบัญชีสาธารณสุข พบว่าใน หมู่ที่ ๑๒ บ้านถ้ำสุรินทร์ มีผู้สูงอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป จำนวน ๑25 คน จากการที่จำนวนผู้สูงอายุภายในชุมชนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่มีลักษณะความเป็นสังคมเมือง ลูกหลานออกไปทำงานนอกบ้าน ทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาหลายๆ ด้าน เช่น ผู้สูงอายุอยู่ตามลำพังหรือสังคมให้ความสำคัญต่อผู้สูงอายุน้อยลง ประกอบผู้สูงอายุประสบปัญหาสุขภาพ ทำให้ผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางอยู่แล้วได้รับผลกระทบ ทั้งนี้หากผู้สูงอายุปรับตัวได้ทันกับความเปลี่ยนแปลงก็จะสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข เกิดความพึงพอใจในชีวิต แต่ถ้าไม่พร้อมหรือปรับตัวไม่ได้และไม่ดีพอ จะส่งผลให้เกิดความรู้สึกว่าตนเองโดดเดี่ยว เหงา ถูกทอดทิ้ง มีความวิตกกังวล ท้อแท้ไม่อยากมีชีวิตอยู่ รู้สึกคุณค่าในชีวิตลดน้อยลง ในด้านผู้พิการในชุมชน พบผู้พิการจำนวน ๔๑ คน มักจะพบปัญหาคล้ายกับผู้สูงอายุ จึงควรอย่างยิ่งที่จะต้องมีการสร้างระบบการดูแลรักษาพยาบาลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน เพื่อรองรับสถานการณ์ปัจจุบันของพื้นที่การดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการที่เน้นให้บริการรักษาตามแนวทางแพทย์แผนไทยประยุกต์ร่วมด้วย ซึ่งเป็นการรักษาที่ไม่ต้องใช้ยาซึ่งอาจมีผลข้างเคียงต่อผู้สูงอายุและผู้พิการ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ ๑๒ บ้านถ้ำสุรินทร์ จึงได้จัดทำโครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ เพื่อการดูแลในผู้สูงอายุและผู้พิการ ที่ครอบคลุมและมีประสิทธิภาพโดยชุมชนโดยใช้แนวทางการดูแลและฟื้นฟูผู้สูงอายุ รวมทั้งการดูแลผู้สูงอายุแบบประคับประคอง( ในระยะสุดท้ายของชีวิต ) โดยกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ หรืออาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านซึ่งเป็นผู้ที่รับผิดชอบในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชนเอง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- วัตถุประสงค์ ข้อที่1 เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการมีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ/ผู้พิการเพิ่มขึ้น ข้อที่2 เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้พิการได้รับการตรวจสุขภาพ ข้อที่๓ เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการสามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการได้ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. อบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
50
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการมีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการเพิ่มขึ้น
๒. ผู้สูงอายุและผู้พิการได้รับการตรวจสุขภาพ
๓. ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการสามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการได้ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
วัตถุประสงค์ ข้อที่1 เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการมีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ/ผู้พิการเพิ่มขึ้น ข้อที่2 เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้พิการได้รับการตรวจสุขภาพ ข้อที่๓ เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการสามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัตความสำเร็จ
-ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการมีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการเพิ่มขึ้น
-ผู้สูงอายุและผู้พิการได้รับการตรวจสุขภาพ
-ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการสามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการได้ถูกต้อง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
50
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่1 เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการมีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ/ผู้พิการเพิ่มขึ้น ข้อที่2 เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้พิการได้รับการตรวจสุขภาพ ข้อที่๓ เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการสามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการได้ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ อบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน ม.12 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 62-L1485-2-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางประโลม อุ่นนวล ตำแหน่ง ประธานอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ ๑๒ ตำบลปะเหลียน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ อบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน ม.12 ”
มัสยิดบ้านทุ่งสุเหร่า หมู่ที่ ๑๒ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางประโลม อุ่นนวล ตำแหน่ง ประธานอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ ๑๒ ตำบลปะเหลียน
เมษายน 2562
ที่อยู่ มัสยิดบ้านทุ่งสุเหร่า หมู่ที่ ๑๒ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 62-L1485-2-15 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 30 เมษายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ อบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน ม.12 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน มัสยิดบ้านทุ่งสุเหร่า หมู่ที่ ๑๒ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ อบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน ม.12
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ อบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน ม.12 " ดำเนินการในพื้นที่ มัสยิดบ้านทุ่งสุเหร่า หมู่ที่ ๑๒ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L1485-2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2562 - 30 เมษายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล(ระบุที่มาของการทำโครงการ) ในปัจจุบันจะเห็นได้ว่าโครงสร้างประชากรไทยอยู่ในระยะที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยประชากรสูงอายุ (อายุ ๖๐ ปีขึ้นไป) มีจำนวนและสัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเป็นถึงร้อยละ ๑๐ ของประชากร หรือ ๖.๓ ล้านคน(กรมอนามัย:๒๕๔๙) ในปัจจุบันส่งผลกระทบต่ออัตราส่วนภาระพึ่งพิงของประชากร ซึ่งเป็นเครื่องชี้วัดถึงความได้เปรียบทางประชากรในการพัฒนาประเทศ ขณะเดียวกันผู้สูงอายุมีอายุยืนยาวขึ้นมีปัญหาด้านสุขภาพ โรคภัยไข้เจ็บ ความพิการและทุพพลภาพเพิ่มมากขึ้น จึงส่งผลกระทบต่อการเพิ่มของความต้องการค่าใช้จ่ายด้านการดูแลรักษาพยาบาลดังนั้นเมื่อจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นในอนาคตจะเป็นภาระสำคัญสำหรับรัฐบาลในการหามาตรการรองรับด้านการรักษาพยาบาล สังคมไทยจะเริ่มต้นสู่สังคมผู้สูงอายุในอีก ๖ ปี ข้างหน้า การมีนโยบายสุขภาพเชิงรุกสำหรับผู้สูงอายุ ย่อมทำให้ประชากรสูงอายุมีศักยภาพ สุขภาพ และปัญญาความรู้เพิ่มขึ้นที่จะส่งเสริมเศรษฐกิจของประเทศและป้องกันการเจ็บป่วย พิการ ทุพพลภาพ ตลอดจนการลดค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาสุขภาพทั้งในปัจจุบันและในอนาคตจากการสำรวจบัญชีสาธารณสุข พบว่าใน หมู่ที่ ๑๒ บ้านถ้ำสุรินทร์ มีผู้สูงอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป จำนวน ๑25 คน จากการที่จำนวนผู้สูงอายุภายในชุมชนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่มีลักษณะความเป็นสังคมเมือง ลูกหลานออกไปทำงานนอกบ้าน ทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาหลายๆ ด้าน เช่น ผู้สูงอายุอยู่ตามลำพังหรือสังคมให้ความสำคัญต่อผู้สูงอายุน้อยลง ประกอบผู้สูงอายุประสบปัญหาสุขภาพ ทำให้ผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางอยู่แล้วได้รับผลกระทบ ทั้งนี้หากผู้สูงอายุปรับตัวได้ทันกับความเปลี่ยนแปลงก็จะสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข เกิดความพึงพอใจในชีวิต แต่ถ้าไม่พร้อมหรือปรับตัวไม่ได้และไม่ดีพอ จะส่งผลให้เกิดความรู้สึกว่าตนเองโดดเดี่ยว เหงา ถูกทอดทิ้ง มีความวิตกกังวล ท้อแท้ไม่อยากมีชีวิตอยู่ รู้สึกคุณค่าในชีวิตลดน้อยลง ในด้านผู้พิการในชุมชน พบผู้พิการจำนวน ๔๑ คน มักจะพบปัญหาคล้ายกับผู้สูงอายุ จึงควรอย่างยิ่งที่จะต้องมีการสร้างระบบการดูแลรักษาพยาบาลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน เพื่อรองรับสถานการณ์ปัจจุบันของพื้นที่การดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการที่เน้นให้บริการรักษาตามแนวทางแพทย์แผนไทยประยุกต์ร่วมด้วย ซึ่งเป็นการรักษาที่ไม่ต้องใช้ยาซึ่งอาจมีผลข้างเคียงต่อผู้สูงอายุและผู้พิการ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ ๑๒ บ้านถ้ำสุรินทร์ จึงได้จัดทำโครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ เพื่อการดูแลในผู้สูงอายุและผู้พิการ ที่ครอบคลุมและมีประสิทธิภาพโดยชุมชนโดยใช้แนวทางการดูแลและฟื้นฟูผู้สูงอายุ รวมทั้งการดูแลผู้สูงอายุแบบประคับประคอง( ในระยะสุดท้ายของชีวิต ) โดยกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ หรืออาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านซึ่งเป็นผู้ที่รับผิดชอบในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชนเอง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- วัตถุประสงค์ ข้อที่1 เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการมีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ/ผู้พิการเพิ่มขึ้น ข้อที่2 เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้พิการได้รับการตรวจสุขภาพ ข้อที่๓ เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการสามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการได้ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. อบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 50 | |
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑. ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการมีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการเพิ่มขึ้น ๒. ผู้สูงอายุและผู้พิการได้รับการตรวจสุขภาพ ๓. ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการสามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการได้ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | วัตถุประสงค์ ข้อที่1 เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการมีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ/ผู้พิการเพิ่มขึ้น ข้อที่2 เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้พิการได้รับการตรวจสุขภาพ ข้อที่๓ เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการสามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการได้ถูกต้อง ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัตความสำเร็จ -ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการมีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการเพิ่มขึ้น -ผู้สูงอายุและผู้พิการได้รับการตรวจสุขภาพ -ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการสามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการได้ถูกต้อง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 50 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่1 เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการมีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ/ผู้พิการเพิ่มขึ้น ข้อที่2 เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้พิการได้รับการตรวจสุขภาพ ข้อที่๓ เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการสามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการได้ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ อบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน ม.12 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 62-L1485-2-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางประโลม อุ่นนวล ตำแหน่ง ประธานอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ ๑๒ ตำบลปะเหลียน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......