กิจกรรมออกกำลังกาย สบายชีวีด้วยวิถีชุมชน (ทางมะพร้าว)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ กิจกรรมออกกำลังกาย สบายชีวีด้วยวิถีชุมชน (ทางมะพร้าว) ”
ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมาลี หมาดวัง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด
เมษายน 2560
ชื่อโครงการ กิจกรรมออกกำลังกาย สบายชีวีด้วยวิถีชุมชน (ทางมะพร้าว)
ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 33/60 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"กิจกรรมออกกำลังกาย สบายชีวีด้วยวิถีชุมชน (ทางมะพร้าว) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
กิจกรรมออกกำลังกาย สบายชีวีด้วยวิถีชุมชน (ทางมะพร้าว)
บทคัดย่อ
โครงการ " กิจกรรมออกกำลังกาย สบายชีวีด้วยวิถีชุมชน (ทางมะพร้าว) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 33/60 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 3,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาโรคไม่ติดต่อกลายมาเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศจากการรายงานของกระทรวงสาธารณสุขพบว่าโรคที่เป็นปัญหาในชุมชน 5 อันดับ ในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงร่างและไขมันอุดตันในเส้นเลือด มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นต่อเนื่องทุกปี จากการวิเคราะห์แบบสอบถามสำรวจชุมชนบ้านใต้ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (เดือนมกราคม 2560 ) พบว่า ประชาชนในชุมชนมีการออกกำลังกาย ร้อยละ 76.5 และไม่ได้ออกกำลังกายร้อยละ 23.5 และบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้องก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน ซึ่งถ้าประชาชนได้บริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ และมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอก็สามารถลดปัญหาได้
ดังนั้นเพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพดี แข็งแรง ผ่อนคลายอารมณ์จึงจำเป็นที่จะต้องส่งเสริมให้มีการออกกำลังกายลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค โดยออกกำลังกายให้เป็นพฤติกรรมที่ถาวร
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง
- เพื่อให้ประชาชนที่เข้าร่วมออกกำลังกายมีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
- เพื่อให้ประชาชนประยุกต์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาสร้างเป็นนวัตกรรมเพื่อใช้ในการออกกำลังกาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง
- ประชาชนที่เข้าร่วมออกกำลังกายมีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานโดยดัชนีมวลกายอยู่ระหว่าง 18.5 – 24.9 และรอบเอวชายไม่เกิน 90 เซนติเมตร หญิงไม่เกิน 80 เซนติเมตร หรือมีค่าดัชนีมวลกายลดลงจากเดิม
- ประชาชนสามารถประยุกต์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาสร้างเป็นนวัตกรรมเพื่อใช้ในการออกกำลังกาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ทำอุปกรณ์ออกกำลังกายด้วยก้านมะพร้าว
วันที่ 9 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต ได้ทางมะพร้าวใช้ในการออกกำลังกายจำนวน 22 อัน
ผลลัพธ์ มีอุปกรณ์ใช้ในการออกกำลังกายแบบทางมะพร้าว
20
22
2. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ห่างจากโรคเรื้อรัง และประโยชน์ของการออกกำลังกาย และสาธิตการออกกำลังกายด้ายก้านมะพร้าว และให้ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยทางมะพร้าว
วันที่ 12 เมษายน 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต มีสมาชิกที่มาออกกำลังกาย จำนวน 22 คน
ผลลัพธ์ ในการตรวจคัดกรองครั้งแรกก่อนเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายด้วยทางมะพร้าว เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2560 พบว่ากลุ่มเป้าหมายปกติ (สีขาว) 5 คน กลุ่มเสี่ยง (สีเขียวอ่อน) 13 คน และกลุ่มป่วยระดับ 0 กินยาคุมอาการ (สีเขียว) 2 คน หลังจากเข้าร่วมออกกำลังกายด้วยทางมะพร้าวแล้วอย่างน้อย สัปดาห์ละ 3 วัน พบว่าการเฝ้าระวังด้วย “ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี”กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 20 คน ปกติ (สีขาว) 5 คน กลุ่มเสี่ยง (สีเขียวอ่อน) 14 คน และกลุ่มป่วยระดับ 0 กินยาคุมอาการ (สีเขียว) 1 คน สรุปว่ามีกลุ่มเป้าหมาย ดีขึ้น 1 คน
20
22
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
โครงการออกกำลังกาย สบายชีวีด้วยวิถีชุมชน (ทางมะพร้าว)” หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ ได้จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ห่างจากโรคเรื้อรัง และประโยชน์ของการออกกำลังกาย และสาธิตการออกกำลังกายด้วยก้านมะพร้าว และให้ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยทางมะพร้าว และจัดให้มีการออกกำลังกายต่อเนื่องของตนเองทุกวัน หรืออย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์โดยประยุกต์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาสร้างเป็นนวัตกรรมเพื่อใช้ในการออกกำลังกาย ซึ่งจากการทำกิจกรรมดังกล่าวพบว่ามีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 20 คน ในการตรวจคัดกรองครั้งแรกก่อนเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายด้วยทางมะพร้าว เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2560 พบว่ากลุ่มเป้าหมายปกติ (สีขาว) 5 คน กลุ่มเสี่ยง (สีเขียวอ่อน) 13 คน และกลุ่มป่วยระดับ 0 กินยาคุมอาการ (สีเขียว) 2 คน หลังจากเข้าร่วมออกกำลังกายด้วยทางมะพร้าวแล้วอย่างน้อย สัปดาห์ละ 3 วัน พบว่าการเฝ้าระวังด้วย “ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี”กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 20 คน ปกติ (สีขาว) 5 คน กลุ่มเสี่ยง (สีเขียวอ่อน) 14 คน และกลุ่มป่วยระดับ 0 กินยาคุมอาการ (สีเขียว) 1 คน สรุปว่ามีกลุ่มเป้าหมาย ดีขึ้น 1 คน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายอย่างน้อย 3 ครั้งต่อสัปดาห์
2
เพื่อให้ประชาชนที่เข้าร่วมออกกำลังกายมีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ดัชนีมวลกายอยู่ระหว่าง 18.5 – 24.9 และรอบเอวชายไม่เกิน 90 เซนติเมตร หญิงไม่เกิน 80 เซนติเมตร หรือมีค่าดัชนีมวลกายลดลงจากเดิม
3
เพื่อให้ประชาชนประยุกต์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาสร้างเป็นนวัตกรรมเพื่อใช้ในการออกกำลังกาย
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถนำก้านมะพร้าวแห้ง (ทางมะพร้าว) มาใช้ออกกำลังกายได้
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
20
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อให้ประชาชนที่เข้าร่วมออกกำลังกายมีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (3) เพื่อให้ประชาชนประยุกต์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาสร้างเป็นนวัตกรรมเพื่อใช้ในการออกกำลังกาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
กิจกรรมออกกำลังกาย สบายชีวีด้วยวิถีชุมชน (ทางมะพร้าว) จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 33/60
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวมาลี หมาดวัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ กิจกรรมออกกำลังกาย สบายชีวีด้วยวิถีชุมชน (ทางมะพร้าว) ”
ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมาลี หมาดวัง
เมษายน 2560
ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 33/60 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"กิจกรรมออกกำลังกาย สบายชีวีด้วยวิถีชุมชน (ทางมะพร้าว) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
กิจกรรมออกกำลังกาย สบายชีวีด้วยวิถีชุมชน (ทางมะพร้าว)
บทคัดย่อ
โครงการ " กิจกรรมออกกำลังกาย สบายชีวีด้วยวิถีชุมชน (ทางมะพร้าว) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 33/60 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 3,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาโรคไม่ติดต่อกลายมาเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศจากการรายงานของกระทรวงสาธารณสุขพบว่าโรคที่เป็นปัญหาในชุมชน 5 อันดับ ในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงร่างและไขมันอุดตันในเส้นเลือด มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นต่อเนื่องทุกปี จากการวิเคราะห์แบบสอบถามสำรวจชุมชนบ้านใต้ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (เดือนมกราคม 2560 ) พบว่า ประชาชนในชุมชนมีการออกกำลังกาย ร้อยละ 76.5 และไม่ได้ออกกำลังกายร้อยละ 23.5 และบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้องก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน ซึ่งถ้าประชาชนได้บริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ และมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอก็สามารถลดปัญหาได้ ดังนั้นเพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพดี แข็งแรง ผ่อนคลายอารมณ์จึงจำเป็นที่จะต้องส่งเสริมให้มีการออกกำลังกายลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค โดยออกกำลังกายให้เป็นพฤติกรรมที่ถาวร
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง
- เพื่อให้ประชาชนที่เข้าร่วมออกกำลังกายมีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
- เพื่อให้ประชาชนประยุกต์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาสร้างเป็นนวัตกรรมเพื่อใช้ในการออกกำลังกาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 20 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง
- ประชาชนที่เข้าร่วมออกกำลังกายมีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานโดยดัชนีมวลกายอยู่ระหว่าง 18.5 – 24.9 และรอบเอวชายไม่เกิน 90 เซนติเมตร หญิงไม่เกิน 80 เซนติเมตร หรือมีค่าดัชนีมวลกายลดลงจากเดิม
- ประชาชนสามารถประยุกต์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาสร้างเป็นนวัตกรรมเพื่อใช้ในการออกกำลังกาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ทำอุปกรณ์ออกกำลังกายด้วยก้านมะพร้าว |
||
วันที่ 9 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต ได้ทางมะพร้าวใช้ในการออกกำลังกายจำนวน 22 อัน ผลลัพธ์ มีอุปกรณ์ใช้ในการออกกำลังกายแบบทางมะพร้าว
|
20 | 22 |
2. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ห่างจากโรคเรื้อรัง และประโยชน์ของการออกกำลังกาย และสาธิตการออกกำลังกายด้ายก้านมะพร้าว และให้ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยทางมะพร้าว |
||
วันที่ 12 เมษายน 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต มีสมาชิกที่มาออกกำลังกาย จำนวน 22 คน ผลลัพธ์ ในการตรวจคัดกรองครั้งแรกก่อนเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายด้วยทางมะพร้าว เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2560 พบว่ากลุ่มเป้าหมายปกติ (สีขาว) 5 คน กลุ่มเสี่ยง (สีเขียวอ่อน) 13 คน และกลุ่มป่วยระดับ 0 กินยาคุมอาการ (สีเขียว) 2 คน หลังจากเข้าร่วมออกกำลังกายด้วยทางมะพร้าวแล้วอย่างน้อย สัปดาห์ละ 3 วัน พบว่าการเฝ้าระวังด้วย “ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี”กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 20 คน ปกติ (สีขาว) 5 คน กลุ่มเสี่ยง (สีเขียวอ่อน) 14 คน และกลุ่มป่วยระดับ 0 กินยาคุมอาการ (สีเขียว) 1 คน สรุปว่ามีกลุ่มเป้าหมาย ดีขึ้น 1 คน
|
20 | 22 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
โครงการออกกำลังกาย สบายชีวีด้วยวิถีชุมชน (ทางมะพร้าว)” หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ ได้จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ห่างจากโรคเรื้อรัง และประโยชน์ของการออกกำลังกาย และสาธิตการออกกำลังกายด้วยก้านมะพร้าว และให้ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายด้วยทางมะพร้าว และจัดให้มีการออกกำลังกายต่อเนื่องของตนเองทุกวัน หรืออย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์โดยประยุกต์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาสร้างเป็นนวัตกรรมเพื่อใช้ในการออกกำลังกาย ซึ่งจากการทำกิจกรรมดังกล่าวพบว่ามีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 20 คน ในการตรวจคัดกรองครั้งแรกก่อนเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายด้วยทางมะพร้าว เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2560 พบว่ากลุ่มเป้าหมายปกติ (สีขาว) 5 คน กลุ่มเสี่ยง (สีเขียวอ่อน) 13 คน และกลุ่มป่วยระดับ 0 กินยาคุมอาการ (สีเขียว) 2 คน หลังจากเข้าร่วมออกกำลังกายด้วยทางมะพร้าวแล้วอย่างน้อย สัปดาห์ละ 3 วัน พบว่าการเฝ้าระวังด้วย “ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี”กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 20 คน ปกติ (สีขาว) 5 คน กลุ่มเสี่ยง (สีเขียวอ่อน) 14 คน และกลุ่มป่วยระดับ 0 กินยาคุมอาการ (สีเขียว) 1 คน สรุปว่ามีกลุ่มเป้าหมาย ดีขึ้น 1 คน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายอย่างน้อย 3 ครั้งต่อสัปดาห์ |
|
|||
2 | เพื่อให้ประชาชนที่เข้าร่วมออกกำลังกายมีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ตัวชี้วัด : ดัชนีมวลกายอยู่ระหว่าง 18.5 – 24.9 และรอบเอวชายไม่เกิน 90 เซนติเมตร หญิงไม่เกิน 80 เซนติเมตร หรือมีค่าดัชนีมวลกายลดลงจากเดิม |
|
|||
3 | เพื่อให้ประชาชนประยุกต์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาสร้างเป็นนวัตกรรมเพื่อใช้ในการออกกำลังกาย ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถนำก้านมะพร้าวแห้ง (ทางมะพร้าว) มาใช้ออกกำลังกายได้ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 20 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 20 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อให้ประชาชนที่เข้าร่วมออกกำลังกายมีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (3) เพื่อให้ประชาชนประยุกต์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาสร้างเป็นนวัตกรรมเพื่อใช้ในการออกกำลังกาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
กิจกรรมออกกำลังกาย สบายชีวีด้วยวิถีชุมชน (ทางมะพร้าว) จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 33/60
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวมาลี หมาดวัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......