กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่


“ ส่งเสริมการออกกำลังกาย (เต้นประกอบจังหวะและโยคะ) ”

ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาบทิพย์ เพ็ชรสกุล

ชื่อโครงการ ส่งเสริมการออกกำลังกาย (เต้นประกอบจังหวะและโยคะ)

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7258-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมการออกกำลังกาย (เต้นประกอบจังหวะและโยคะ) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมการออกกำลังกาย (เต้นประกอบจังหวะและโยคะ)



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมการออกกำลังกาย (เต้นประกอบจังหวะและโยคะ) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 58,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔ หมวด ๑๔ การปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรา ๒๔๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๑ ให้มีการจัดการปกครองส่วนท้องถิ่นตามหลักแห่งการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น ทั้งนี้ตามวิธีการและรูปแบบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๒๕๐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่และอํานาจดูแลและจัดทําบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ที่๔ ได้กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาส
และความเสมอภาคทางสังคมในการเข้าถึงบริการอย่างทั่วถึง ซึ่งสอดคลองเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ที่มียุทธศาสตร์ในการสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม และแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้กำหนดยุทธศาสตร์ที่๑ ด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการส่งเสริมสุขภาพและมีสุขภาพที่ดี แผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่๑ พ.ศ.๒๕๖๐–๒๕๖๔ ได้กำหนดยุทธศาสตร์ที่๓ ด้านการส่งเสริมการใช้สมุนไพรเพื่อการรักษาโรคและการสร้างเสริมสุขภาพ และยุทธศาสตร์ที่๔ ด้านการสร้างความเข้มแข็งของการบริหาร และนโยบายของภาครัฐเพื่อการขับเคลื่อนสมุนไพรไทยอย่างยั่งยืน ซึ่งสอดคล้องกับเทศบาลนครหาดใหญ่ที่ได้มีนโยบายด้านการสาธารณสุข เพื่อสร้างโอกาสและทางเลือกในการรับบริการด้านสุขภาพของประชาชนทุกกลุ่มวัย โดยการจัดตั้งเป็นศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุขขึ้น เพื่อให้บริการประชาชนด้วยการแพทย์ผสมผสาน เน้นการเรียนรู้และบูรณาการความรู้ด้านการแพทย์และภูมิปัญญาตะวันออก ปัจจุบันการดูแลสุขภาพโดยไม่ใช้ยา มีแนวโน้มเป็นที่นิยมมากขึ้น โดยอาศัยหลัก 3 อ. ได้แก่ อาหาร ออกกำลังกายและอารมณ์ การที่จะปฏิบัติตามหลัก 3 อ. ได้อย่างถูกวิธีนั้นต้องอาศัยการได้รับความรู้ที่ถูกต้องในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยเฉพาะเรื่องการออกกำลังกายควรเลือกให้รูปแบบเหมาะสมกับตนเอง การออกกำลังกายมีหลากหลายรูปแบบ เช่น การวิ่ง การว่ายน้ำ การเต้นแอโรบิค เป็นต้น การออกกำลังกายอีกอย่างหนึ่งที่มีประโยชน์มาก คือ โยคะ โยคะเป็นศาสตร์หนึ่งที่ได้รับการยอมรับมาจนถึงปัจจุบัน มีวิวัฒนาการมาจากจิตสำนึกของมนุษย์หรือการพัฒนาตนเองของมนุษย์ซึ่งเป็นการเรียนรู้โยคะนำมนุษย์ไปสู่สมาธิ ลดการปรุงแต่งของจิต ลดการปรุงแต่งของพฤติกรรมและเกิดการตระหนักรู้ถึงเป้าหมาย กระบวนการของชีวิตนั้นจะต้องยึดวิธีแบบองค์รวมของโยคะ ที่จะนำไปสู่สุขภาพที่ดีขึ้นและขจัดปัญหาทั้งทางกายและทางใจ โดยโยคะจะครอบคลุมทั้งกาย จิตสังคมและจิตวิญญาณ และมีเทคนิคการฝึกฝนร่างกายเพื่อเป็นพื้นฐานควบคุมจิต โดยจะพัฒนาร่างกายเป็นส่วนหนึ่งที่จะมุ่งเสริมประโยชน์ของการฝึกทางจิตและจิตวิญญาณ ซึ่งจากการศึกษาผลของโยคะต่อสุขภาพกาย พบว่าผู้ฝึกโยคะส่วนใหญ่รับรู้ว่าตนมีภาวะสุขภาพกายและคุณภาพชีวิตดีขึ้นหลังฝึกโยคะ โดยโยคะช่วยให้ร่างกายยืดหยุ่น ระบบหายใจทำงานมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ด้านสุขภาพจิตพบว่าการฝึกโยคะช่วยลดความเครียดและความวิตกกังวล ด้านสังคมพบว่าผู้ฝึกโยคะจะมีการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างตนกับบุคคลอื่นดีขึ้น และด้านจิตวิญญาณนั้นโยคะเป็นการฝึกจิตให้รู้เท่าทันกับสิ่งที่มารบกวนนำมาซึ่งการตระหนักรู้และเข้าใจตนเอง เกิดการพัฒนาด้านคุณธรรมและจิตวิญญาณ การฝึกโยคะสามารถปฏิบัติได้ในคนปกติทุกเพศทุกวัย มีผลในการเสริมความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ และเนื้อเยื่อรอบข้อ เสริมสร้างความแข็งแรงและความทนทานของกล้ามเนื้อได้ตลอดจนผลดีต่อระบบไหลเวียนโลหิต การขยายของหลอดเลือด ระบบฮอร์โมนในร่างกาย ระบบประสาท ระบบการหายใจ ระบบย่อยอาหาร และการถ่ายเทของเสีย ทำให้เกิดความสมดุลของระบบต่างๆภายในร่างกาย ซึ่งมีข้อมูลทางวิชาการพบว่าผู้ที่มีโรคเรื้อรังสามารถดีขึ้นได้จากการฝึกโยคะอย่างต่อเนื่องและถูกวิธี และโยคะสามารถส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมทั้งด้านกาย จิต จิตวิญญาณและสังคม เพื่อสร้างความสมดุลได้อย่างแท้จริง นอกจากนี้หากต้องการความรื่นเริงพร้อมกับการได้สุขภาพที่ดี การเต้นประกอบจังหวะเป็นอีกหนึ่งรูปแบบการออกกำลังกายที่น่าสนใจ มีหลากหลายรูปแบบ เช่น ลีลาศ ซุมบ้า ไลน์แดนซ์ เป็นต้น การเลือกจังหวะเพลงต่างๆหรือรูปแบบการเต้นให้เหมาะกับกลุ่มเป้าหมายจะทำให้ผู้เข้าร่วมออกกำลังกายสนุกกับการเต้นมากขึ้น การเต้นอย่างต่อเนื่อง 40 นาทีขึ้นไปจะส่งผลให้ระบบหัวใจและหลอดเลือดทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ด้วยประโยชน์ของการออกกำลังกายดังกล่าว ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข เทศบาลนครหาดใหญ่ จึงได้เล็งเห็นถึงประโยชน์ความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพสำหรับประชาชนทั่วไปทุกระดับด้วยการนำการออกกำลังกายเต้นประกอบจังหวะและโยคะ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพ จึงจัดทำโครงการนี้เพื่อให้นำความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติไปปฏิบัติต่อตนเองตลอดจนแนะนำผู้อื่นต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนปฏิบัติมีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติการออกกำลังกายเต้นประกอบจังหวะและโยคะได้
  2. 2. เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองด้วยการออกกำลังกาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเต้นประกอบจังหวะและโยคะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการบริหารกายแบบโยคะและเต้นประกอบจังหวะได้และดูแลตนเองได้อย่างถูกวิธี ๒. มีความรู้ความเข้าใจสร้างจิตสำนึกและความตระหนักให้ประชาชนมีความใส่ใจต่อสุขภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเต้นประกอบจังหวะและโยคะ

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

ฝึกปฏิบัติเต้นประกอบจังหวะ ทุกวันจันทร์ อังคาร พุธ จำนวน 71 ครั้ง ครั้ง 1 ชม. ฝึกปฏิบัติโยคะ ทุกวันอังคาร พุธ พฤหัสบดี จำนวน 81 ครั้ง ครั้งละ 1 ชม.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจและสามารถออกกำลังกายเต้นประกอบจังหวะและโยคะได้

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ประชาชนปฏิบัติมีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติการออกกำลังกายเต้นประกอบจังหวะและโยคะได้
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถปฏิบัติการออกกำลังกายเต้นประกอบจังหวะและโยคะได้ร้อยละ 80
0.00

 

2 2. เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองด้วยการออกกำลังกาย
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองด้วยการออกกำลังกาย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนปฏิบัติมีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติการออกกำลังกายเต้นประกอบจังหวะและโยคะได้ (2) 2. เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองด้วยการออกกำลังกาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเต้นประกอบจังหวะและโยคะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมการออกกำลังกาย (เต้นประกอบจังหวะและโยคะ) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7258-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอาบทิพย์ เพ็ชรสกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด