ส่งเสริมป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อด้วยภูมิปัญญาไทย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ส่งเสริมป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อด้วยภูมิปัญญาไทย ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาบทิพย์ เพ็ชรสกุล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
สิงหาคม 2562
ชื่อโครงการ ส่งเสริมป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อด้วยภูมิปัญญาไทย
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-1-4 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อด้วยภูมิปัญญาไทย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อด้วยภูมิปัญญาไทย
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อด้วยภูมิปัญญาไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 184,140.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 – 2564 หมวด 14 การปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรา 249 ภายใต้บังคับมาตรา 1 ให้มีการปกครองส่วนท้องถิ่นตามหลักแห่งการปกครองตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น ทั้งนี้ตามวิธีการและรูปแบบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่กฎหมายท้องถิ่นที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา 250องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่และอำนาจดูแลและจัดทำบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ป ยุทธศาสตร์ที่๔ ได้กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมในการเข้าถึงบริการอย่างทั่วถึง ซึ่งสอดคลองเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ที่มียุทธศาสตร์ในการสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม และแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้กำหนดยุทธศาสตร์ที่3 ด้านการส่งเสริมการใช้สมุนไพรเพื่อการรักษาโรคและการสร้างเสริมสุขภาพ และยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการสร้างความเข้มแข็งของการบริหาร และนโยบายของภาครัฐเพื่อการขับเคลื่อนสมุนไพรไทยอย่างยั่งยืน
การแพทย์แผนไทย เป็นภูมิปัญญาตั้งแต่สมัยโบราณ ในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บมักจะรักษาโดยใช้สมุนไพรแพทย์แผนไทยได้ถ่ายทอดภูมิปัญญา เช่น จารึกสรรพคุณยาและวิธีรักษาเป็นตำรายาของแต่ละท้องถิ่น ซึ่งสมุนไพรต่างๆที่นำมาเป็นยานี้ ถือได้ว่าเป็นภูมิปัญญาที่นอกจากการรักษาด้วยสมุนไพรแล้ว และยังมีการรักษาด้วยวิธีการนวด การประคบ การรักษาโรคด้วยวิธีนี้ทำให้โลหิตไหลเวียนสะดวกขึ้นเป็นการปรับสภาพร่างกายให้เกิดความสมดุลและยังทำให้ร่างกายรู้สึกสบายตัวสบายตัวมากขึ้น ไม่ทรมานต่อความเจ็บปวดเมื่อยร่างกายที่แสนจะยากลำบากในการเคลื่อนไหวของร่างกายของเราที่เกิดจากการเวลาเราเคลื่อนไหวรวดเร็วเกินไปจนทำให้ร่างกาย กระดูก กล้ามเนื้อ และเส้นเอ็น อาจจะเคลื่อนเข้าที่ผิดจากที่เดิมหรือหักหรือขาดไปได้ ซึ่งในสมัยโบราณใช้การนวด การเหยียบ การบีบ และการประคบสมุนไพร ภาวะผิดปกติของโรคระบบกล้ามเนื้อ กระดูก และข้อ เป็นกลุ่มโรคที่มีสาเหตุมาจากหลายปัจจัย เกิดจากท่าทางซ้ำๆ หรือ การออกแรงเกินกำลัง รวมทั้งท่าทางที่ฝืนธรรมชาติ ปัจจัยจากการทำงานก็เป็นอีกหนึ่งสาเหตุที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้ นอกจากนี้ยังมีสาเหตุอื่นๆ เช่น การทำกิจกรรมที่บ้าน ความผิดปกติของโครงสร้างร่างกายที่มีอยู่เดิม ความเสื่อมตามอายุ หรือสภาวะทางจิตใจ เป็นต้น ปัจจุบันได้มีการรักษาโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูก และข้อ ในหลายวิธี ซึ่งการรักษาด้วยภูมิปัญญาไทยเป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการป้องกันโรคดังกล่าวโดยการทำหัตถการต่างๆ เช่น การตอกเส้น การยืดดัด การเขี่ยเส้น การประคบสมุนไพร ซึ่งหัตถการต่างๆนี้พบว่าการทำหัตถการดังกล่าวมีประสิทธิภาพในการช่วยลดอาการปวดเมื่อยในผู้ป่วยโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูก และข้อได้ดี รวมถึงส่งเสริมให้ประชาชนสามารถดูแลรักษา และป้องกันตนเองจากโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูก และข้อ ได้ในเบื้องต้น ยังสามารถลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษา ตลอดจน ประหยัดเวลาในการเดินทางไปโรงพยาบาลได้ด้วย
ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข เทศบาลนครหาดใหญ่เห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ ด้วยภูมิปัญญาไทย เพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ภูมิปัญญาไทยในด้านการนวดและการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ เพื่อการมีสุขภาวะที่ดีแบบยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ
- 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถนวดเบื้องต้นเพื่อใช้ในการป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ
- 3.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารุทำลูกประคบสมุนไพร เพื่อใช้ในการป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 2.ประชาสัมพันธ์โครงการ
- 3.รวบรวมรายชื่อกลุ่มเป้าหมาย
- 1. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 1 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
- กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 3 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
- กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 4 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
- กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 6 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
- กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 7 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
- กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 8 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
- กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 10 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
- กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 2 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
- กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 5 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
- กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 9 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ
2.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนวดเบื้องต้นเพื่อใช้ในการป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ
3.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำลูกประคบสมุนไพรเพื่อใช้ในการป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อกระดูกและข้อ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 2 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
วันที่ 28 มีนาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
บรรยาย สาธิตและฝึกปฏิบัติเรื่องการนวดแผนไทย การตอกเส้น การจัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์ลูกประคบสมุนไพร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
50
0
2. กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 3 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
วันที่ 22 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำ
บรรยาย สาธิตและฝึกปฏิบัติเรื่อง การจัดโครงสร้างร่างกาย ภูมิปัญญาพื้นบ้านการตอกเส้น การนวด และการทำลูกประคบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าได้รับความรู้ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
50
0
3. กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 4 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
วันที่ 23 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำ
บรรยาย สาธิตและฝึกปฏิบัติเรื่องการจัดโครงสร้างร่างกาย การนวดแผนไทยด้วยตนเอง การตอกเส้น และการทำลูกประคบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
50
0
4. กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 5 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
วันที่ 25 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำ
บรรยาย สาธิต และฝึกปฏิบัติการจัดโครงสร้างร่างกาย การนวดแผนไทยด้วยตนเอง การตอกเส้น และการทำลูกประคบสมุนไพร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
50
0
5. กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 6 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
วันที่ 30 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำ
บรรยาย สาธิต และฝึกปฏิบัติเรื่องการจัดโครงสร้าง การนวดแผนไทย การตอกเส้น และการทำลูกประคบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
50
0
6. กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 8 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
วันที่ 22 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรม
1.ฝึกปฏิบัติและให้ความรู้เรื่องการนวด ,การตอกเส้น,การจัดโครงสร้างร่างกาย โรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ
2.ฝึกปฏิบัติเรื่องการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
50
0
7. กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 9 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
วันที่ 23 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรม
1.ฝึกปฏิบัติและให้ความรู้เรื่องการนวด ,การตอกเส้น,การจัดโครงสร้างร่างกาย โรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ
2.ฝึกปฏิบัติเรื่องการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
50
0
8. กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 1 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
วันที่ 23 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
บรรยายและฝึกปฏิบัติเรื่องการนวดเบื้องต้น ,การจัดโครงสร้างร่างกาย ,การตอกเส้น และการทำลูกประคบสมุนไพร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
50
0
9. 1. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
วันที่ 23 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้กลุ่มเป้าหมาย
0
0
10. 2.ประชาสัมพันธ์โครงการ
วันที่ 23 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านสื่อวิทยุ เว็ปไซต์ เพื่อหากลุ่มเป้าหมาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้กลุ่มเป้าหมาย
0
0
11. 3.รวบรวมรายชื่อกลุ่มเป้าหมาย
วันที่ 23 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
รวบรวมรายชื่อกลุ่มเป้าหมายและโทรประสานการตอบรับเข้าร่วมโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้กลุ่มเป้าหมาย
0
0
12. กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 7 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
วันที่ 23 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
บรรยาย สาธิตและฝึกปฏิบัติเรื่องการจัดโครงสร้างร่างกาย การนวดแผนไทยด้วยตนเอง การตอกเส้น และการทำลูกประคบสมุนไพร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
50
0
13. กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 10 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
วันที่ 12 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรม
1.ฝึกปฏิบัติและให้ความรู้เรื่องการนวด ,การตอกเส้น,การจัดโครงสร้างร่างกาย โรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ
2.ฝึกปฏิบัติเรื่องการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และสามารถไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
50
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ
0.00
2
2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถนวดเบื้องต้นเพื่อใช้ในการป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถนวดเบื้องต้นเพื่อใช้ในการป้องกันอาการเรื้อรังของโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ
0.00
3
3.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารุทำลูกประคบสมุนไพร เพื่อใช้ในการป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถทำลูกประคบสมุนไพรเพื่อใช้ในการป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูก และข้อ ร้อยละ 80
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
500
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ (2) 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถนวดเบื้องต้นเพื่อใช้ในการป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ (3) 3.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารุทำลูกประคบสมุนไพร เพื่อใช้ในการป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 2.ประชาสัมพันธ์โครงการ (2) 3.รวบรวมรายชื่อกลุ่มเป้าหมาย (3) 1. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (4) กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 1 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) (5) กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 3 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) (6) กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 4 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) (7) กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 6 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) (8) กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 7 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) (9) กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 8 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) (10) กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 10 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) (11) กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 2 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) (12) กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 5 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) (13) กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 9 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่งเสริมป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อด้วยภูมิปัญญาไทย จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-1-4
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวอาบทิพย์ เพ็ชรสกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ส่งเสริมป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อด้วยภูมิปัญญาไทย ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาบทิพย์ เพ็ชรสกุล
สิงหาคม 2562
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-1-4 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อด้วยภูมิปัญญาไทย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อด้วยภูมิปัญญาไทย
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อด้วยภูมิปัญญาไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 184,140.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 – 2564 หมวด 14 การปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรา 249 ภายใต้บังคับมาตรา 1 ให้มีการปกครองส่วนท้องถิ่นตามหลักแห่งการปกครองตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น ทั้งนี้ตามวิธีการและรูปแบบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่กฎหมายท้องถิ่นที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา 250องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่และอำนาจดูแลและจัดทำบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ป ยุทธศาสตร์ที่๔ ได้กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมในการเข้าถึงบริการอย่างทั่วถึง ซึ่งสอดคลองเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ที่มียุทธศาสตร์ในการสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม และแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้กำหนดยุทธศาสตร์ที่3 ด้านการส่งเสริมการใช้สมุนไพรเพื่อการรักษาโรคและการสร้างเสริมสุขภาพ และยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการสร้างความเข้มแข็งของการบริหาร และนโยบายของภาครัฐเพื่อการขับเคลื่อนสมุนไพรไทยอย่างยั่งยืน
การแพทย์แผนไทย เป็นภูมิปัญญาตั้งแต่สมัยโบราณ ในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บมักจะรักษาโดยใช้สมุนไพรแพทย์แผนไทยได้ถ่ายทอดภูมิปัญญา เช่น จารึกสรรพคุณยาและวิธีรักษาเป็นตำรายาของแต่ละท้องถิ่น ซึ่งสมุนไพรต่างๆที่นำมาเป็นยานี้ ถือได้ว่าเป็นภูมิปัญญาที่นอกจากการรักษาด้วยสมุนไพรแล้ว และยังมีการรักษาด้วยวิธีการนวด การประคบ การรักษาโรคด้วยวิธีนี้ทำให้โลหิตไหลเวียนสะดวกขึ้นเป็นการปรับสภาพร่างกายให้เกิดความสมดุลและยังทำให้ร่างกายรู้สึกสบายตัวสบายตัวมากขึ้น ไม่ทรมานต่อความเจ็บปวดเมื่อยร่างกายที่แสนจะยากลำบากในการเคลื่อนไหวของร่างกายของเราที่เกิดจากการเวลาเราเคลื่อนไหวรวดเร็วเกินไปจนทำให้ร่างกาย กระดูก กล้ามเนื้อ และเส้นเอ็น อาจจะเคลื่อนเข้าที่ผิดจากที่เดิมหรือหักหรือขาดไปได้ ซึ่งในสมัยโบราณใช้การนวด การเหยียบ การบีบ และการประคบสมุนไพร ภาวะผิดปกติของโรคระบบกล้ามเนื้อ กระดูก และข้อ เป็นกลุ่มโรคที่มีสาเหตุมาจากหลายปัจจัย เกิดจากท่าทางซ้ำๆ หรือ การออกแรงเกินกำลัง รวมทั้งท่าทางที่ฝืนธรรมชาติ ปัจจัยจากการทำงานก็เป็นอีกหนึ่งสาเหตุที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้ นอกจากนี้ยังมีสาเหตุอื่นๆ เช่น การทำกิจกรรมที่บ้าน ความผิดปกติของโครงสร้างร่างกายที่มีอยู่เดิม ความเสื่อมตามอายุ หรือสภาวะทางจิตใจ เป็นต้น ปัจจุบันได้มีการรักษาโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูก และข้อ ในหลายวิธี ซึ่งการรักษาด้วยภูมิปัญญาไทยเป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการป้องกันโรคดังกล่าวโดยการทำหัตถการต่างๆ เช่น การตอกเส้น การยืดดัด การเขี่ยเส้น การประคบสมุนไพร ซึ่งหัตถการต่างๆนี้พบว่าการทำหัตถการดังกล่าวมีประสิทธิภาพในการช่วยลดอาการปวดเมื่อยในผู้ป่วยโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูก และข้อได้ดี รวมถึงส่งเสริมให้ประชาชนสามารถดูแลรักษา และป้องกันตนเองจากโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูก และข้อ ได้ในเบื้องต้น ยังสามารถลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษา ตลอดจน ประหยัดเวลาในการเดินทางไปโรงพยาบาลได้ด้วย
ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข เทศบาลนครหาดใหญ่เห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ ด้วยภูมิปัญญาไทย เพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ภูมิปัญญาไทยในด้านการนวดและการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ เพื่อการมีสุขภาวะที่ดีแบบยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ
- 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถนวดเบื้องต้นเพื่อใช้ในการป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ
- 3.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารุทำลูกประคบสมุนไพร เพื่อใช้ในการป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 2.ประชาสัมพันธ์โครงการ
- 3.รวบรวมรายชื่อกลุ่มเป้าหมาย
- 1. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 1 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
- กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 3 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
- กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 4 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
- กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 6 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
- กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 7 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
- กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 8 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
- กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 10 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
- กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 2 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
- กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 5 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
- กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 9 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 500 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ 2.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนวดเบื้องต้นเพื่อใช้ในการป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ 3.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำลูกประคบสมุนไพรเพื่อใช้ในการป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อกระดูกและข้อ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 2 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) |
||
วันที่ 28 มีนาคม 2561กิจกรรมที่ทำบรรยาย สาธิตและฝึกปฏิบัติเรื่องการนวดแผนไทย การตอกเส้น การจัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์ลูกประคบสมุนไพร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
50 | 0 |
2. กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 3 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) |
||
วันที่ 22 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำบรรยาย สาธิตและฝึกปฏิบัติเรื่อง การจัดโครงสร้างร่างกาย ภูมิปัญญาพื้นบ้านการตอกเส้น การนวด และการทำลูกประคบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าได้รับความรู้ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
50 | 0 |
3. กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 4 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) |
||
วันที่ 23 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำบรรยาย สาธิตและฝึกปฏิบัติเรื่องการจัดโครงสร้างร่างกาย การนวดแผนไทยด้วยตนเอง การตอกเส้น และการทำลูกประคบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
50 | 0 |
4. กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 5 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) |
||
วันที่ 25 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำบรรยาย สาธิต และฝึกปฏิบัติการจัดโครงสร้างร่างกาย การนวดแผนไทยด้วยตนเอง การตอกเส้น และการทำลูกประคบสมุนไพร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
50 | 0 |
5. กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 6 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) |
||
วันที่ 30 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำบรรยาย สาธิต และฝึกปฏิบัติเรื่องการจัดโครงสร้าง การนวดแผนไทย การตอกเส้น และการทำลูกประคบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
50 | 0 |
6. กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 8 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) |
||
วันที่ 22 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำกิจกรรม 1.ฝึกปฏิบัติและให้ความรู้เรื่องการนวด ,การตอกเส้น,การจัดโครงสร้างร่างกาย โรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ 2.ฝึกปฏิบัติเรื่องการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
50 | 0 |
7. กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 9 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) |
||
วันที่ 23 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำกิจกรรม 1.ฝึกปฏิบัติและให้ความรู้เรื่องการนวด ,การตอกเส้น,การจัดโครงสร้างร่างกาย โรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ 2.ฝึกปฏิบัติเรื่องการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
50 | 0 |
8. กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 1 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) |
||
วันที่ 23 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำบรรยายและฝึกปฏิบัติเรื่องการนวดเบื้องต้น ,การจัดโครงสร้างร่างกาย ,การตอกเส้น และการทำลูกประคบสมุนไพร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
50 | 0 |
9. 1. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง |
||
วันที่ 23 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำติดต่อประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้กลุ่มเป้าหมาย
|
0 | 0 |
10. 2.ประชาสัมพันธ์โครงการ |
||
วันที่ 23 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำประชาสัมพันธ์โครงการผ่านสื่อวิทยุ เว็ปไซต์ เพื่อหากลุ่มเป้าหมาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้กลุ่มเป้าหมาย
|
0 | 0 |
11. 3.รวบรวมรายชื่อกลุ่มเป้าหมาย |
||
วันที่ 23 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำรวบรวมรายชื่อกลุ่มเป้าหมายและโทรประสานการตอบรับเข้าร่วมโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้กลุ่มเป้าหมาย
|
0 | 0 |
12. กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 7 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) |
||
วันที่ 23 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำบรรยาย สาธิตและฝึกปฏิบัติเรื่องการจัดโครงสร้างร่างกาย การนวดแผนไทยด้วยตนเอง การตอกเส้น และการทำลูกประคบสมุนไพร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
50 | 0 |
13. กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 10 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) |
||
วันที่ 12 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำกิจกรรม 1.ฝึกปฏิบัติและให้ความรู้เรื่องการนวด ,การตอกเส้น,การจัดโครงสร้างร่างกาย โรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ 2.ฝึกปฏิบัติเรื่องการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และสามารถไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
50 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ |
0.00 |
|
||
2 | 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถนวดเบื้องต้นเพื่อใช้ในการป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถนวดเบื้องต้นเพื่อใช้ในการป้องกันอาการเรื้อรังของโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ |
0.00 |
|
||
3 | 3.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารุทำลูกประคบสมุนไพร เพื่อใช้ในการป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถทำลูกประคบสมุนไพรเพื่อใช้ในการป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูก และข้อ ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 500 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 500 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ (2) 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถนวดเบื้องต้นเพื่อใช้ในการป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ (3) 3.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารุทำลูกประคบสมุนไพร เพื่อใช้ในการป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 2.ประชาสัมพันธ์โครงการ (2) 3.รวบรวมรายชื่อกลุ่มเป้าหมาย (3) 1. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (4) กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 1 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) (5) กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 3 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) (6) กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 4 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) (7) กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 6 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) (8) กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 7 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) (9) กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 8 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) (10) กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 10 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) (11) กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 2 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) (12) กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 5 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ) (13) กิจกรรม ฝึกปฏิบัติรุ่นที่ 9 รุ่นละ 50 คน ห้อข้อเรืองการนวด ,การตอกเส้น,จัดโครงสร้างร่างกาย และการทำผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ลูกประคบ)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่งเสริมป้องกันโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อด้วยภูมิปัญญาไทย จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-1-4
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวอาบทิพย์ เพ็ชรสกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......