กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลดอน
รหัสโครงการ 62-50109-4-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักงานเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ดอน
วันที่อนุมัติ 1 ตุลาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 52,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายเจ๊ะมูหามัดสัน เจ๊ะอูมา
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลดอน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.786,101.482place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 22 ม.ค. 2562 18 ก.พ. 2562 9,300.00
2 19 ก.พ. 2562 20 ก.พ. 2562 9,300.00
3 29 เม.ย. 2562 30 เม.ย. 2562 8,500.00
4 16 ก.ย. 2562 17 ก.ย. 2562 7,500.00
รวมงบประมาณ 34,600.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (34,600.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (52,000.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 34 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

(ระบุความสำคัญของโครงการ ความจำเป็นที่ต้องดำเนินการตามโครงการนี้ โดยชี้ให้เห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้น และสาเหตุของปัญหา หรืออาจจะระบุสิ่งที่คาดหวังว่าจะเกิดขึ้นอันเนื่องมาจากความสำเร็จของโครงการ)

ตามที่พระราชบัญญัติประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๕มาตรา ๑๘(๙)และมาตรา ๔๗ได้กำหนดให้สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมตามความพร้อมความเหมาะสมและความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นมีมติเมื่อวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙เห็นชอบให้การจัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ซึ่งหมายถึงกองทุนสุขภาพตำบลโดยมีวัตถุประสงค์ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตตลอดจนส่งเสริมให้กลุ่มแม่และเด็กกลุ่มผู้สูงอายุผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยงกลุ่มคนพิการกลุ่มผู้ด้อยโอกาสและกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในเขตพื้นที่มีสวัสดิการชุมชนรองรับและสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงโดยการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วมของบุคคลในพื้นที่ในระดับท้องถิ่นเป็นคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นโยบายดังกล่าวยังสอดคล้องกับหลักการการกระจายอำนาจบนหลักแนวคิดลดบทบาทของรัฐส่วนกลางในการดำเนินการเอง

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนจัดตั้งกองทุนเมื่อปีงบประมาณ ๒๕๔๙นับเป็นนวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของตำบลดอนที่มุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่การเข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ สามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชน และเพื่อให้เป็นไปตามประกาศฉบับปรับปรุงใหม่ พ.ศ.๒๕๕๗ซึ่งได้กำหนดวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่โดยเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรม (๔) เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพทั้งนี้ต้องไม่เกินร้อยละ ๑๕ของเงินรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละปีงบประมาณนั้น และบาทต่อหน่วยโดยการจัดซื้อจัดจ้างให้ใช้ระเบียบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยอนุโลมและครุภัณฑ์ที่จัดหาได้ให้อยู่ในความดูแลและบำรุงรักษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น(ระบุความสำคัญของโครงการ ความจำเป็นที่ต้องดำเนินการตามโครงการนี้ โดยชี้ให้เห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้น และสาเหตุของปัญหา หรืออาจจะระบุสิ่งที่คาดหวังว่าจะเกิดขึ้นอันเนื่องมาจากความสำเร็จของโครงการ)

ตามที่พระราชบัญญัติประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๕มาตรา ๑๘(๙)และมาตรา ๔๗ได้กำหนดให้สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมตามความพร้อมความเหมาะสมและความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นมีมติเมื่อวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙เห็นชอบให้การจัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ซึ่งหมายถึงกองทุนสุขภาพตำบลโดยมีวัตถุประสงค์ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตตลอดจนส่งเสริมให้กลุ่มแม่และเด็กกลุ่มผู้สูงอายุผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยงกลุ่มคนพิการกลุ่มผู้ด้อยโอกาสและกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในเขตพื้นที่มีสวัสดิการชุมชนรองรับและสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงโดยการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วมของบุคคลในพื้นที่ในระดับท้องถิ่นเป็นคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นโยบายดังกล่าวยังสอดคล้องกับหลักการการกระจายอำนาจบนหลักแนวคิดลดบทบาทของรัฐส่วนกลางในการดำเนินการเอง

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนจัดตั้งกองทุนเมื่อปีงบประมาณ ๒๕๔๙นับเป็นนวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของตำบลดอนที่มุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่การเข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ สามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชน และเพื่อให้เป็นไปตามประกาศฉบับปรับปรุงใหม่ พ.ศ.๒๕๕๗ซึ่งได้กำหนดวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่โดยเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรม (๔) เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพทั้งนี้ต้องไม่เกินร้อยละ ๑๕ของเงินรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละปีงบประมาณนั้น และบาทต่อหน่วยโดยการจัดซื้อจัดจ้างให้ใช้ระเบียบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยอนุโลมและครุภัณฑ์ที่จัดหาได้ให้อยู่ในความดูแลและบำรุงรักษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน 2. เพื่อกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด 3. เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ 4. เพื่อพิจารณาออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพในการบริหาร 5. เพื่อพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการของคณะกรรมการกองทุนฯ

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 108 52,000.00 4 31,400.00
??/??/???? จัดส่งคณะกรรมการกองทุนและคณะอนุกรรมการกองทุนเข้าร่วมประชุมสัมมนาหรือฝึกอบรม 0 7,800.00 -
??/??/???? ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน LTC ครั้งที่ 1 10 3,500.00 -
??/??/???? ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน LTC ครั้งที่ 2 10 3,500.00 -
23 ม.ค. 62 1.ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ และคณะอนุกรรมการกองทุน ครั้งที่1 22 9,300.00 7,300.00
20 ก.พ. 62 1.ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ และคณะอนุกรรมการกองทุน ครั้งที่2 22 9,300.00 8,100.00
30 เม.ย. 62 1.ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ และคณะอนุกรรมการกองทุน ครั้งที่3 22 9,300.00 8,500.00
23 พ.ค. 62 1.ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ และคณะอนุกรรมการกองทุน ครั้งที่4 22 9,300.00 7,500.00
  1. ขั้นตอนวางแผนงาน

- ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดร่างวาระในการประชุม จำนวนคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน - กำหนดวันประชุมตลอดปีงดประมาณ   2. ขั้นตอนการดำเนินงาน     - ติดต่อประสานงานกับคณะกรรมการ เพื่อกำหนดนัดหมาย     - จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงาน     - จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน   - จัดเตรีมสถานที่ในการประชุม   3. ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด   - จัดประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษา อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี   - จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน/คณะทำงาน/คณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี   - สรุปผลการประชุมและมติคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน   4. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในการบริหารจัดการกองทุน   - จัดอบรมหรือส่งคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานพัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการกองทุน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. คณะกรรมการกองทุนคณะอนุกรรมการคณะทำงานและแกนนำสุขภาพมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุน     2. การเสนอแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 ม.ค. 2562 00:00 น.