กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ ส่งเสริมสุขภาพจิตในชุมชน รพ.สต.บ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2562
รหัสโครงการ 62-L3312-1-14
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านท่าควาย
วันที่อนุมัติ 4 ธันวาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2562 - 30 สิงหาคม 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 13 กันยายน 2562
งบประมาณ 6,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอารีย์ เกื้อคลัง
พี่เลี้ยงโครงการ นางวาลัยพร ด้วงคง
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.389,100.067place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพจิตของบุคคลสามารถแบ่างเป็นปัจจัยภายใน เช่น ลักษณะนิสัย การจัดการปัญหา เป้นต้น ส่วนปัจจัยภายนอกและสภาพแวดล้อม เช่น ปัญหาสัมพันธืภาพในครอบครัว เศรษฐกิจ ภาระหนี้สิน ปัญหาการเมือง การไม่มีที่อยุ่อาศัย ปัญหาอาญากรรมและสารเสพติด เป็นต้น โดยปัญหาสุขภาพจิตของบุคคลจะแตกตางกันในแต่ละช่วงวัย ตั้งแต่วัยเด้ก วัยรุ่น วัยผุ้ใหญ่ และวัยผู้สูงอายุ นอกจากนี้ยังมีกลุ่มเสี่ยงที่มีแนวโน้มที่จะเกิดสุขชภาพจิตที่พบบ่อย ได้แก่ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการ เป็นต้น เนื่องจากข้อกำจัดในการดำรงชีวิตเพิ่มมากขึนกว่าบุคคลทั่วไป จึงทำให้เกิดปัญหาความเครียดหรือปัญหาสุขภาพจิตอื่นได้ง่ายกว่าบุคคลทั่วไป การส่งเสริมสุขภาพจิตสำหรับกลุ่มเสี่ยงเป็นส่วนทีสำคัญที่จะต้องป้องกันการเกิดปัญหาสุขภาพจิตให้ลดน้อยลงได้ ปัจจุบันปัญหาสุขภาพจิตและการป่วยทางจิตกลายเป็นปัญหาอีกปัญหาที่สำคัญของประเทศ ส่วนหนึ่งอาจเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงทางสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่แตกต่างกันไป ทำให้บุคคลเกิดความเครียดได้ง่ายและเจ็บป่วยทางจิต สถิติการเจ็บป่วยด้วยโรคทางจิตเวช 5 อันดับแรกในประเทศไทย ได้แก่ โรคซึมเศร้่า โรคจิตเภท โรควิตกกังวล โรคจิตเวชเนื่องมาจากสารเสพติด และโรคอารมณืแปรปรวนสองขั้ว ตามลำดับย นอกจากนี้ ผู้ป่วยมารับบริการด้านจิตเวชของหน่วยบริการในสังกัดกรมสุขภาพจิต ประจำปี ืงบประมาณ 2560 พบว่า 2,669,821 คน โดยเฉพาะโรคซึมเศร้าในประเทศไทย เท่ากับ 284,399 คน ในจังหวัดพัทลุง เท่ากับ 2,319 คน และในส่วน รพ.สต.บ้านท่าควาย เท่ากับ 14 คน รายฃงานผู้ป่วยพยายามฆ่าตัวตายในประเทศไทย พบว่า จำนวน 21,888 คน ในจังหวัดพัทลุง จำนวน 130 คน ในเขต รพ.สต.บ้านท่าควาย จำนวน 1 คน และอันตราการฆ่าตัวตายในประเทศไทย ต่อประชากร แสนคน เท่ากับ 6.03 ในจังหวัดพัทลุง เท่ากับ 8.40 คน ในเขตพื้นที่ รพ.สต. บ้านท่าควาย เท่ากับ 72.04 ตามลำดับ การเหตุการณ์และความสำคัญดังกล่าว รพฅ.สต.บ้านท่าควาย มีปัญหาผู้ป่วยสุขภาพจิตโดยเฉพาะโรคซึมเศร้า จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพจิตในชุมชน ปีงบประมาณ 2562 และเพื่อเกิดประสิทธิภาพในการเรียนรู้ในการส่งเสริมสุขภาพจิต การดำเนินคัดกรองโรคซึมเศร้า 2Q การอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคซึมเศร้า และการรติดตามประเมินการเฝ้าระวังพฤติกรรมใสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคซึมเศร้าต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อคัดครองโรคซึมเศร้า
  1. อัตราผู่ที่มีความเสี่ยงต่อ 2Q ได้รับการคัดครอง 8Q และ 9Q ร้อนละ 100
1.00
2 2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรควึมเศร้า
  1. อัตรากลุ่มเสี่ยงโรคซึมเศร้าได้รับการส่งต่อและไดด้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 100
1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 6,200.00 0 0.00
1 มี.ค. 62 ถ่ายเอกสารคัดกรอง 0 1,000.00 -
30 ส.ค. 62 อบรมกลุ่มเสี่ยง 0 2,000.00 -
28 ต.ค. 62 ค่าวิทยากร 0 1,200.00 -
28 ต.ค. 62 แบบประเมินสุขภาพ 0 1,000.00 -
28 ต.ค. 62 เบี้ยเลี้งผู้ออกปฎิบัติงาน 0 1,000.00 -

ขั้นเตรียมการ 1. รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาโรคซึมเศร้า 2. จัดทำโครงการเสนอกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพตำบลโคกม่วง 3. ประชาสัมพันธ์โครงการแก่อาสาสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และชุมชน ได้รับทราบ ขั้นดำเนินการ 1. การคัดครองโรคซึมเศร้า 2 Q จำนวน 2,000 คน 2. อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงโรคซึมเศร้า จำนวน 20 คน 3. การติดตามประเมินการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคซึมเศร้า จำนวน 20 คน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. กลุ่มเสี่ยงโรคซึมเศร้าได้รับการส่งเสริมสุขภาพจิต และเฝ้าระวังสุขภาพของตนเองอย่างต่อเนื่อง
  2. ลดจำนวนการฆ่าตัวตาย
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 ม.ค. 2562 09:42 น.