กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารการจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน
รหัสโครงการ 60-L7010-4-10
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน
วันที่อนุมัติ 10 มกราคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 31 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 103,500.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอดุลอิศมาอีล
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 10 ม.ค. 2560 10 ม.ค. 2560 8,800.00
2 7 ส.ค. 2560 8 ส.ค. 2560 3,840.00
3 8 ส.ค. 2560 9 ส.ค. 2560 20,000.00
รวมงบประมาณ 32,640.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (32,640.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (103,500.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 13 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระบบท้องถิ่นหรือพื้นที่หรือกองทุน อปท. เป็นนวัตกรรมที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและภาคีภาคส่วนต่างๆ โดยมุ่งเน้นให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและฟื้นฟูสมรรถภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อให้สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้ทั่วถึงมากขึ้น รวมถึงสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ ส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองและการสร้างกลไกในสังคม ที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วง จากการดำเนินงานของกองทุนที่ผ่านมา พบว่ายังมีความจำเป็นที่จะต้องมีการพัฒนาศักยภาพกองทุนและคณะกรรมการกองทุน โดยเฉพาะในเรื่องการบริหารจัดการกองทุนฯ ให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ เป็นกลไกสำคัญต่อความสำเร็จของการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพราะคณะกรรมการเป็นบุคคลสำคัญในการประสานความร่วมมือระหว่างภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและประชาชนที่จะทำให้เกิดการทำงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ของกองทุนและเรียนรู้ร่วมกัน พัฒนาการดำเนินงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพดีทั้งกายและจิต ดังนั้นคณะกรรมการจึงจำเป็นที่จะต้องพัฒนาความรู้ สร้างจิตสำนึกร่วมกัน ร่วมเป็นเจ้าของ ร่วมกันบริหารจัดการกองทุน และเพื่อนำวัสดุที่จำเป็นมาใช้ในงานของกองทุนฯและจ่ายค่าเบี้ยเลี้ยงในการประชุมและค่าอาหารและอาหารว่างและเครื่องดื่ม ดังนั้นกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบัน จึงมีความประสงค์จัดโครงการบริการจัดการกองทุนและพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองตะลุบันเพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ ให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่อพัฒนาศักยภาพในการบริหารงานของคณะกรรมการกองทุนฯ

 

2 ๒. เพื่อการดำเนินงานของกองทุนฯ บรรลุวัตถุประสงค์ และให้เกิดความคล่องตัว

 

3 ๓. เพื่อพัฒนางานและติดตามความก้าวหน้าของกองทุนฯ

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
4 ก.ค. 59 - 20 เม.ย. 60 ประชุมคณะกรรมการและอนุกรรมการ 22 79,660.00 -
27 มิ.ย. 60 จัดซื้อคอมพิวเตอร์แบบพกพา 0 20,000.00 -
30 ก.ค. 60 - 1 ส.ค. 60 เดินทางไปราชการ 0 3,840.00 -
รวม 22 103,500.00 0 0.00

๑. จัดทำแผนงานสุขภาพประจำปี
๒. คณะกรรมการกองทุนมีการประชุมตามแผนอย่างน้อยปีละ ๖ ครั้ง ๓. คณะทำงานมีการติดตามโครงการที่ได้รับการสนับสนุนตามแผนงาน ๔. ฝ่ายเลขานุการเป็นหน่วยงานดำเนินงานด้านธุรการ และจัดการกองทุนฯ ๕. จัดซื้อวัสดุสำนักงานและถ่ายเอกสาร ๖. บันทึกและรายงานแผนงานโครงการกิจกรรมการเงินลงในระบบออนไลน์ ๗.เขียนโครงการนำเสนอคณะกรรมการกองทุนฯ ๘.การปฎิบัติงานของกองทุนฯเป็นไปด้วยความคล่องตัวมีประสิทธิภาพ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. มีการพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการกองทุนฯ
  2. การปฏิบัติงานของกองทุนฯ เป็นไปด้วยความคล่องตัวมีประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค์
  3. กองทุนฯ มีการพัฒนาและสามารถติดตามความก้าวหน้าได้ 4.มีครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฎิบัติงาน 5.การปฎิบัติงานของกองทุนฯเป็นไปด้วยความคล่องตัวมีประสิทธิภาพ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 มี.ค. 2560 09:29 น.