กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา


“ โครงการให้ความรู้ชุมชนการใช้ยาอย่างปลอดภัย ”

ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวพนิดา มามะ

ชื่อโครงการ โครงการให้ความรู้ชุมชนการใช้ยาอย่างปลอดภัย

ที่อยู่ ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L2979-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการให้ความรู้ชุมชนการใช้ยาอย่างปลอดภัย จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการให้ความรู้ชุมชนการใช้ยาอย่างปลอดภัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการให้ความรู้ชุมชนการใช้ยาอย่างปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L2979-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาการเข้าถึงระบบบริการด้านสาธารณสุขและยา ของประชาชนในชนบทยังคงเป็นจุดบอดของภาครัฐที่ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ ร้านค้าในหมู่บ้านจึงเป็นทางเลือกเดียวที่มีพร้อมทั้งเครื่องใช้อุปโภคบริโภครวมถึงยาสามัญประจำบ้าน ยาปฏิชีวนะ ยาลูกกลอน และยาชุด เมื่อเจ็บป่วยเป็นไข้หวัด ปวดหัว ปวดท้อง ต้องนึกถึงร้านขายของชำใกล้บ้านเป็นแห่งแรก อีกทั้งยังมีรถเร่ขายยาแก้ปวดสารพัดนึก ปวดหัว ปวดขา ปวดกล้ามเนื้อ ปวดท้อง ยาประดง โดยชาวบ้านหารู้ไม่ว่ายาเหล่านี้สารสเตียรอยด์ในปริมาณที่เป็นอันตรายต่อชีวิตและก่อให้เกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยา จาการสำรวจร้านขายของชำในเขตพื้นที่พบว่ามีการใช้ยาชุด ยาลูกกลอนยาปฏิชีวนะและยาอันตรายในทุกเพศทุกวัย โดยเฉพาะกลุ่มผู้ใช้แรงงาน เกษตรกร และผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเมื่อย หรือปวดข้อเรื่อรัง มักจะใช้ยาชุดที่มีส่วนประกอบของยาสเตียรอยด์ จำนวนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ นอกจากนี้ยังมีการลักลอบจำหน่ายยาลูกกลอน ยาปฏิชีวนะและยาอันตรายภายในร้านของชำเป็นจำนวนมาก ซึ่งอาจนำมาสู่ปัญหาสุขภาพ เช่น ภาวะคุชชิ่ง หรือต่อมหมวกไตบกพร่อง ที่เกิดจากการใช้ยาชุด ลูกกลอน ยาเม็ดสเตียรอยด์ และนำไปสู่ปัญหาการแพ้ยาซ้ำ และปัญหาเชื้อดื้อยาจากการใช้ยาปฏิชีวนะ ชาวบ้านส่วนใหญ่ที่ซื้อยากินเองจะเป็นผู้สูงอายุที่เคยชินกับยารถเร่และยาชุด
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งพลา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ จึงได้จัดทำโครงการสร้างความรู้ให้ชุมชน ใช้ยาอย่างปลอดภัย ให้ความรู้เรื่องยาอันตรายที่ขายในชุมชนของเรา ผลของการใช้ยาอันตราย แล้วรวมไปถึงการแนะนำการใช้ยาในผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีกลุ่มคนมาโฆษณาชวนเชื่อให้ดื่มน้ำสมุนไพรแล้วจะหายจากโรคเบาหวาน ความดัน ซึ่งชาวบ้านรู้เท่าไม่ถึงการณ์ โครงการนี้เป็นแบบมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อที่จะได้เข้าใจเรื่องโทษของการซื้อยาชุด ยาลูกกลอน ยาปฏิชีวนะและยาอันตรายที่มีขายอยู่ในพื้นที่ ตำบลทุ่งพลา พร้อมสร้างความตระหนักถึงการใช้ยาประเภทนี้ และเกิดทัศนคติที่ดีจนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ยาอันตรายลดลงจนนำไปสู่การสร้างภูมิคุ้มกันในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้รู้ถึงอันตรายจากการซื้อยาชุด ยาปฏิชีวนะ ยาลูกกลอนและอันตรายที่มีขายอยู่โดยทั่วไปตามร้านค้า 2. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้รับความรู้และนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน 3. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้เข้าใจและไม่หลงเชื่อคำโฆษณา 3. วิธีดำเนินการ 3.1 ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้ที่มีความสนใจที่จะเข้าร่วมรับฟัง จำนวน 60 คน 3.2 วิเคราะห์ปัญหาจัดทำโครงการเพื่อเสนองบประมาณและขออนุมัติโครงการ 3.3 เตรียมเอกสารให้ความรู้และจัดเตรียมสถานที่และอุปกรณ์ 3.4 ประสานงานติดต่อวิทยากร 3.5 จัดอบรมให้ความรู้ถึงอันตรายจากการซื้อยาชุด ยาปฏิชีวนะ ยาลูกกลอนและอันตรายที่มีขายอยู่โดยทั่วไปตามร้านค้า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนในชุมชนจะได้รู้ถึงอันตรายจากการซื้อยาชุด ยาปฏิชีวนะ ยาลุกกลอน และยาอันตรายที่มีขายอยู่โดยทั่วไปตามร้านค้า
    2. ประชาชนในชุมชนจะได้รับวามรู้ และนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
    3. ประชาชนในชุมชนจะได้เข้าใจและไม่หลงเชื่อในคำโฆษณา

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้รู้ถึงอันตรายจากการซื้อยาชุด ยาปฏิชีวนะ ยาลูกกลอนและอันตรายที่มีขายอยู่โดยทั่วไปตามร้านค้า 2. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้รับความรู้และนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน 3. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้เข้าใจและไม่หลงเชื่อคำโฆษณา 3. วิธีดำเนินการ 3.1 ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้ที่มีความสนใจที่จะเข้าร่วมรับฟัง จำนวน 60 คน 3.2 วิเคราะห์ปัญหาจัดทำโครงการเพื่อเสนองบประมาณและขออนุมัติโครงการ 3.3 เตรียมเอกสารให้ความรู้และจัดเตรียมสถานที่และอุปกรณ์ 3.4 ประสานงานติดต่อวิทยากร 3.5 จัดอบรมให้ความรู้ถึงอันตรายจากการซื้อยาชุด ยาปฏิชีวนะ ยาลูกกลอนและอันตรายที่มีขายอยู่โดยทั่วไปตามร้านค้า
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้รู้ถึงอันตรายจากการซื้อยาชุด ยาปฏิชีวนะ ยาลูกกลอนและอันตรายที่มีขายอยู่โดยทั่วไปตามร้านค้า 2. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้รับความรู้และนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน 3. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้เข้าใจและไม่หลงเชื่อคำโฆษณา  3. วิธีดำเนินการ 3.1 ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้ที่มีความสนใจที่จะเข้าร่วมรับฟัง จำนวน 60 คน 3.2 วิเคราะห์ปัญหาจัดทำโครงการเพื่อเสนองบประมาณและขออนุมัติโครงการ 3.3 เตรียมเอกสารให้ความรู้และจัดเตรียมสถานที่และอุปกรณ์  3.4 ประสานงานติดต่อวิทยากร 3.5 จัดอบรมให้ความรู้ถึงอันตรายจากการซื้อยาชุด ยาปฏิชีวนะ ยาลูกกลอนและอันตรายที่มีขายอยู่โดยทั่วไปตามร้านค้า

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการให้ความรู้ชุมชนการใช้ยาอย่างปลอดภัย จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 62-L2979-1-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวพนิดา มามะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด