โครงการเสริมทักษะชีวิตเยาวชนโดยใช้กิจกรรมแกนนำกีรออาตีต้านภัยเอดส์ ห่างไกลเอดส์
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเสริมทักษะชีวิตเยาวชนโดยใช้กิจกรรมแกนนำกีรออาตีต้านภัยเอดส์ ห่างไกลเอดส์ ”
ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางเจ๊ะตีเมาะ อุทัย
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการเสริมทักษะชีวิตเยาวชนโดยใช้กิจกรรมแกนนำกีรออาตีต้านภัยเอดส์ ห่างไกลเอดส์
ที่อยู่ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3027-02-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเสริมทักษะชีวิตเยาวชนโดยใช้กิจกรรมแกนนำกีรออาตีต้านภัยเอดส์ ห่างไกลเอดส์ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมทักษะชีวิตเยาวชนโดยใช้กิจกรรมแกนนำกีรออาตีต้านภัยเอดส์ ห่างไกลเอดส์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเสริมทักษะชีวิตเยาวชนโดยใช้กิจกรรมแกนนำกีรออาตีต้านภัยเอดส์ ห่างไกลเอดส์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3027-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 77,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเอดส์ยังคงเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสภาวะเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิถีชีวิตและความมั่งคงของชาติ การแพร่ระบาดของโรคเอดส์ได้กระจายไปสู่ประชากรทุกกลุ่ม โดยเฉพาะหมู่เยาวชน (อายุ 15-24 ปี)รวมทั้งกลุ่มแม่บ้านและกลุ่มแม่หม้าย การควบคุมการแพร่กระจายของโรคเอดส์จะกระทำได้ยาก เพราะสาเหตุส่วนใหญ่มาจากการติดต่อทางเพศสัมพันธ์ อนึ่ง จากสภาพปัจจุบันทัศนคติเรื่องเพศที่แตกต่างกันระหว่างเยาวชนและผู้ใหญ่ ทำให้เกิดช่องว่างและข้อจำกัดในการเรียนรู้เรื่องเพศของเยาวชน รวมทั้งสิ่งยั่วยุจากสื่อต่างๆ เช่น การใช้โทรศัพท์มือถือ การจับคู่หรือการมีปฏิสัมพันธ์ทางอารมณ์ การแต่งตัวล่อแหลม จนทำให้เกิดพฤติกรรมที่นำไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัยและผิดหลักศาสนา (การทำซีนา) ทำให้เสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV
ปัจจุบันโรคนี้ยังคงเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ เมื่อเริ่มมีการติดเชื้อเอชไอวี แม้ผู้ป่วยจะยังไม่มีอาการแสดงของการเจ็บป่วยให้เห็นที ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น ภาวะสุขภาพร่างกาย ความสมบูรณ์แข็งแรง ภูมิต้านทานของแต่ละบุคคลที่มีความแตกต่างกัน ระยะเวลาของการติดเชื้อ หากผู้ติดเชื้อไม่ได้รับการแนะนำเรื่องป้องกันการแพร่กระจายเชื้อและการดูแลรักษาที่ไม่ถูกต้องต่อเนื่องก็มีผลต่ออาการเจ็บป่วยที่รุนแรงขึ้นได้ และเมื่อติดเชื้อแล้วนอกจากจะมีผลกระทบทางกาย จิตใจ กางงานและสังคมของผู้ป่วยแล้วยังสูญเสียทางเศรษฐกิจของครอบครัวและประเทศชาติ ดังนั้นการป้องกันไม่ให้เกิดโรคจึงเป็นวิธีการที่ดีที่สุด และกรณีที่ป่วยแล้วต้องดูแลตัวเองได้เหมาะสม ควบคุมและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคเอดส์สู่บุคคลอื่น
ตำบลเขาตูม ก็ประสพผลกระทบจากการระบาดของเอดส์ พบบุคคลจำนวนหนึ่งมีการติดเชื้อเอชไอวีเอดส์ที่ทราบตัว จำนวน 8 คน เป็นเยาวชน 2 คน สตรี(แม่) 2 คน ชายวัยทำงาน 4 คน แต่ที่ไม่ทราบตัวบุคคล จุดนี้น่ากลัวมากต่อการแพร่ระบาดในชุมชน ซึ่งจะเป็นสาเหตุการระบาดเพิ่มได้ ถ้าไม่ได้รับการเฝ้าระวัง รณรงค์แก้ไข ป้องกัน
ทั้งนี้ ทางชมรมเอดส์ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ได้จัดกิจกรรมมาโดยตลอด ซึ่งได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ (สปสช.) ประจำองค์การบริหารส่วนตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี และได้ตระหนักถึงความสำคัญของโรคเอดส์ จึงได้จัดโครงการ “เสริมทักษะชีวิตเยาวชนโดยใช้กิจกรรมแกนนำกีรออาตีต้านภัยเอดส์ ห่างไกลเอดส์ ” เพื่อเป็นการเผยแพร่และเสริมทักษะชีวิตห่างไกลเอดส์ของเยาวชนโดยใช้กิจกรรมกีรออาตีให้เยาวชนได้รับความรู้การบูรณาการโรคเอดส์ควบคู่กับการเรียนกีรออาตีแบบเข้ม และติดตามผู้ป่วยติดเชื้อเอดส์ให้มีศักยภาพในการดูแลป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ HIV เอดส์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเสริมทักษะชีวิตห่างไกลเอดส์โดยใช้กิจกรรมกีรออาตี
- เพื่อให้เยาวชนได้รับความรู้การบูรณาการโรคเอดส์ควบคู่กับการเรียนกีรออาตีแบบเข้ม
- เพื่อติดตามผู้ป่วยติดเชื้อเอดส์ให้มีศักยภาพในการดูแลป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ HIV เอดส์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
30
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.เยาวชนมีความร่วมมือในการจัดกิจกรรมได้เป็นอย่างดี
2.เยาวชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารในเรื่อง HIV/AIDS โดยการควบคู่กับการเรียนกีรออาตีแบบเข้ม (กุรอานี)
3.เยาวชนและคณะทำงานมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน
4.ผู้ได้รับผลกระทบได้รับการพบปะพูดคุยไห้การปรึกษาอย่างถูกต้อง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเสริมทักษะชีวิตห่างไกลเอดส์โดยใช้กิจกรรมกีรออาตี
ตัวชี้วัด : ร้อยละเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย มีทักษะชีวิตห่างไกลเอดส์โดยใช้กิจกรรมกีรออาตี
80.00
2
เพื่อให้เยาวชนได้รับความรู้การบูรณาการโรคเอดส์ควบคู่กับการเรียนกีรออาตีแบบเข้ม
ตัวชี้วัด : ร้อยละเยาวชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้การบูรณาการโรคเอดส์ควบคู่กับการเรียนกีรออาตีแบบเข้ม
70.00
3
เพื่อติดตามผู้ป่วยติดเชื้อเอดส์ให้มีศักยภาพในการดูแลป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ HIV เอดส์
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้ติดเชื้อที่ปรากฏตัวกลุ่มเป้าหมายได้รับการติดตามผู้ป่วยติดเชื้อเอดส์ให้มีศักยภาพในการดูแลป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ HIV เอดส์
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
30
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมทักษะชีวิตห่างไกลเอดส์โดยใช้กิจกรรมกีรออาตี (2) เพื่อให้เยาวชนได้รับความรู้การบูรณาการโรคเอดส์ควบคู่กับการเรียนกีรออาตีแบบเข้ม (3) เพื่อติดตามผู้ป่วยติดเชื้อเอดส์ให้มีศักยภาพในการดูแลป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ HIV เอดส์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเสริมทักษะชีวิตเยาวชนโดยใช้กิจกรรมแกนนำกีรออาตีต้านภัยเอดส์ ห่างไกลเอดส์ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3027-02-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางเจ๊ะตีเมาะ อุทัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเสริมทักษะชีวิตเยาวชนโดยใช้กิจกรรมแกนนำกีรออาตีต้านภัยเอดส์ ห่างไกลเอดส์ ”
ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางเจ๊ะตีเมาะ อุทัย
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3027-02-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเสริมทักษะชีวิตเยาวชนโดยใช้กิจกรรมแกนนำกีรออาตีต้านภัยเอดส์ ห่างไกลเอดส์ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมทักษะชีวิตเยาวชนโดยใช้กิจกรรมแกนนำกีรออาตีต้านภัยเอดส์ ห่างไกลเอดส์
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเสริมทักษะชีวิตเยาวชนโดยใช้กิจกรรมแกนนำกีรออาตีต้านภัยเอดส์ ห่างไกลเอดส์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3027-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 77,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเอดส์ยังคงเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสภาวะเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิถีชีวิตและความมั่งคงของชาติ การแพร่ระบาดของโรคเอดส์ได้กระจายไปสู่ประชากรทุกกลุ่ม โดยเฉพาะหมู่เยาวชน (อายุ 15-24 ปี)รวมทั้งกลุ่มแม่บ้านและกลุ่มแม่หม้าย การควบคุมการแพร่กระจายของโรคเอดส์จะกระทำได้ยาก เพราะสาเหตุส่วนใหญ่มาจากการติดต่อทางเพศสัมพันธ์ อนึ่ง จากสภาพปัจจุบันทัศนคติเรื่องเพศที่แตกต่างกันระหว่างเยาวชนและผู้ใหญ่ ทำให้เกิดช่องว่างและข้อจำกัดในการเรียนรู้เรื่องเพศของเยาวชน รวมทั้งสิ่งยั่วยุจากสื่อต่างๆ เช่น การใช้โทรศัพท์มือถือ การจับคู่หรือการมีปฏิสัมพันธ์ทางอารมณ์ การแต่งตัวล่อแหลม จนทำให้เกิดพฤติกรรมที่นำไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัยและผิดหลักศาสนา (การทำซีนา) ทำให้เสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV
ปัจจุบันโรคนี้ยังคงเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ เมื่อเริ่มมีการติดเชื้อเอชไอวี แม้ผู้ป่วยจะยังไม่มีอาการแสดงของการเจ็บป่วยให้เห็นที ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น ภาวะสุขภาพร่างกาย ความสมบูรณ์แข็งแรง ภูมิต้านทานของแต่ละบุคคลที่มีความแตกต่างกัน ระยะเวลาของการติดเชื้อ หากผู้ติดเชื้อไม่ได้รับการแนะนำเรื่องป้องกันการแพร่กระจายเชื้อและการดูแลรักษาที่ไม่ถูกต้องต่อเนื่องก็มีผลต่ออาการเจ็บป่วยที่รุนแรงขึ้นได้ และเมื่อติดเชื้อแล้วนอกจากจะมีผลกระทบทางกาย จิตใจ กางงานและสังคมของผู้ป่วยแล้วยังสูญเสียทางเศรษฐกิจของครอบครัวและประเทศชาติ ดังนั้นการป้องกันไม่ให้เกิดโรคจึงเป็นวิธีการที่ดีที่สุด และกรณีที่ป่วยแล้วต้องดูแลตัวเองได้เหมาะสม ควบคุมและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคเอดส์สู่บุคคลอื่น
ตำบลเขาตูม ก็ประสพผลกระทบจากการระบาดของเอดส์ พบบุคคลจำนวนหนึ่งมีการติดเชื้อเอชไอวีเอดส์ที่ทราบตัว จำนวน 8 คน เป็นเยาวชน 2 คน สตรี(แม่) 2 คน ชายวัยทำงาน 4 คน แต่ที่ไม่ทราบตัวบุคคล จุดนี้น่ากลัวมากต่อการแพร่ระบาดในชุมชน ซึ่งจะเป็นสาเหตุการระบาดเพิ่มได้ ถ้าไม่ได้รับการเฝ้าระวัง รณรงค์แก้ไข ป้องกัน
ทั้งนี้ ทางชมรมเอดส์ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ได้จัดกิจกรรมมาโดยตลอด ซึ่งได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ (สปสช.) ประจำองค์การบริหารส่วนตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี และได้ตระหนักถึงความสำคัญของโรคเอดส์ จึงได้จัดโครงการ “เสริมทักษะชีวิตเยาวชนโดยใช้กิจกรรมแกนนำกีรออาตีต้านภัยเอดส์ ห่างไกลเอดส์ ” เพื่อเป็นการเผยแพร่และเสริมทักษะชีวิตห่างไกลเอดส์ของเยาวชนโดยใช้กิจกรรมกีรออาตีให้เยาวชนได้รับความรู้การบูรณาการโรคเอดส์ควบคู่กับการเรียนกีรออาตีแบบเข้ม และติดตามผู้ป่วยติดเชื้อเอดส์ให้มีศักยภาพในการดูแลป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ HIV เอดส์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเสริมทักษะชีวิตห่างไกลเอดส์โดยใช้กิจกรรมกีรออาตี
- เพื่อให้เยาวชนได้รับความรู้การบูรณาการโรคเอดส์ควบคู่กับการเรียนกีรออาตีแบบเข้ม
- เพื่อติดตามผู้ป่วยติดเชื้อเอดส์ให้มีศักยภาพในการดูแลป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ HIV เอดส์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 30 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.เยาวชนมีความร่วมมือในการจัดกิจกรรมได้เป็นอย่างดี 2.เยาวชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารในเรื่อง HIV/AIDS โดยการควบคู่กับการเรียนกีรออาตีแบบเข้ม (กุรอานี) 3.เยาวชนและคณะทำงานมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน 4.ผู้ได้รับผลกระทบได้รับการพบปะพูดคุยไห้การปรึกษาอย่างถูกต้อง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเสริมทักษะชีวิตห่างไกลเอดส์โดยใช้กิจกรรมกีรออาตี ตัวชี้วัด : ร้อยละเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย มีทักษะชีวิตห่างไกลเอดส์โดยใช้กิจกรรมกีรออาตี |
80.00 |
|
||
2 | เพื่อให้เยาวชนได้รับความรู้การบูรณาการโรคเอดส์ควบคู่กับการเรียนกีรออาตีแบบเข้ม ตัวชี้วัด : ร้อยละเยาวชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้การบูรณาการโรคเอดส์ควบคู่กับการเรียนกีรออาตีแบบเข้ม |
70.00 |
|
||
3 | เพื่อติดตามผู้ป่วยติดเชื้อเอดส์ให้มีศักยภาพในการดูแลป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ HIV เอดส์ ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้ติดเชื้อที่ปรากฏตัวกลุ่มเป้าหมายได้รับการติดตามผู้ป่วยติดเชื้อเอดส์ให้มีศักยภาพในการดูแลป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ HIV เอดส์ |
100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 30 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมทักษะชีวิตห่างไกลเอดส์โดยใช้กิจกรรมกีรออาตี (2) เพื่อให้เยาวชนได้รับความรู้การบูรณาการโรคเอดส์ควบคู่กับการเรียนกีรออาตีแบบเข้ม (3) เพื่อติดตามผู้ป่วยติดเชื้อเอดส์ให้มีศักยภาพในการดูแลป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ HIV เอดส์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเสริมทักษะชีวิตเยาวชนโดยใช้กิจกรรมแกนนำกีรออาตีต้านภัยเอดส์ ห่างไกลเอดส์ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3027-02-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางเจ๊ะตีเมาะ อุทัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......