โครงการวัยรุ่น วัยใส ไม่ท้องก่อนวัย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการวัยรุ่น วัยใส ไม่ท้องก่อนวัย ”
อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายสอลาฮูดิน อาแว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต
กันยายน 2562
ชื่อโครงการ โครงการวัยรุ่น วัยใส ไม่ท้องก่อนวัย
ที่อยู่ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 62-L2479-2-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการวัยรุ่น วัยใส ไม่ท้องก่อนวัย จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยรุ่น วัยใส ไม่ท้องก่อนวัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการวัยรุ่น วัยใส ไม่ท้องก่อนวัย " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2479-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,465.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สภาพสังคมปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงการดำรงชีวิตในสังคมจากครอบครัวขยายกลายเป็นครอบครัวเดียวอีกทั้งสภาพเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้พ่อแม่ต้องประกอบอาชีพนอกบ้านจึงส่งผลให้ครอบครัวขาดความอบอุ่นทางและการดูแลภายในครอบครัวและเกิดการชี้แนะในสิ่งที่เหมาะสมประกอบกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยียุคโลกาภิวัฒน์และวัฒนธรรมทางตะวันตกจึงทำให้เยาวชนถูกกระตุ้นด้วยสิ่งเร้าเช่น สื่อลามกในอินเตอร์เน็ต สิ่งนี้ทำให้เยาวชนเกิดพฤติกรรมทางเพศอย่างไม่เหมาะสมด้วยการขาดวุฒิภาวะและทักษะในการควบคุมอารมณ์ทางเพศของตนเองจึงทำให้เยาวชนมีเพศสัมพันธ์ในเวลาที่ไม่เหมาะสมและขาดความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์วัยรุ่นจึงเป็นวัยที่อาจชักจูงได้ง่าย ขาดความนับถือตนเอง รวมถึงทักษะในการดำรงชีวิตส่งผลให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยง(riskbehavior) ในด้านต่างๆ เช่น การมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ระวัง ส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นทั้งนี้พฤติกรรมเสี่ยงดังกล่าวเป็นสาเหตุหนึ่งของการเสียชีวิตในวัยรุ่นโดยเฉพาะเพศหญิงได้แก่ การทำแท้งเถื่อนการคลอดบุตรทั้งที่อายุน้อยซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้เป็นพฤติกรรมที่สามารถป้องกันหรือหลีกเลี่ยงได้สังคมไทยปัจจุบันตัวเลขวัยรุ่นไทยตั้งท้องในวัยเรียนน้อยสุด ๑๓ ปี และไม่เกิน ๑๙ ปี เพื่อเป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาอันควรที่จะเกิดขึ้นกับวัยรุ่นไทยในอนาคต
สภาเด็กและเยาวชนตำบลบูกิตจึงจัดโครงการวัยรุ่นวัยใส ไม่ท้องก่อนวัยขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมค่านิยมใหม่ให้รู้จักรักและเห็นคุณค่าของตัวเอง เป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นให้ลดน้อยลงหรือหมดสิ้นไปในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์
- เพื่อให้ความรู้ในเรื่องเพศศึกษาอย่างถุกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมหลัก -บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง เพศกับเยาวชนในปัจจุบัน -บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและวิธีการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
- กิจกรรมย่อย จัดประชุมคณะทำงาน
- ประชุมคณะกรรมการเตรียมงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
30
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.วัยรุ่นมีทักษะและภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
2.เสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่น และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต และพฤติกรรมเสี่ยงในเรื่องเพศ
3.วัยรุ่นมีความเข้าใจเรื่องอนามัยเจริญพันธ์ เพศศึกษามากขึ้น
4.วัยรุ่นสามารถให้คำปรึกษาและแก้ปัญหาเรื่องเพศ และสามารถช่วยเหลือเพื่อนในโรงเรียน ในเรื่องปัญหาทางเพศ และสุขภาพได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมคณะกรรมการเตรียมงาน
วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำ
แบ่งงานตามหน้าที่รับผิดชอบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ควบคุมงานโดยนายสอลาฮูดิน อาแว ประธานสภาเด็กและเยาวชนตำบลบูกิต
ฝ่ายกิจกรรม โดย นายอัลวี เจ๊ะเลาะ หัวหน้าฝ่ายกิจกรรม
ฝ่ายสวัสดิการ โดย นายอานัส อาแวกือจิ หัวหน้าฝ่ายสวัสดิการ
ฝ่ายทะเบียน โดย นางสาวนูรอักมา แมเลาะ
ฝ่ายปกครอง โดย นายฮาซัน มะเร๊ะ
ฝ่ายบันทึกภาพกิจกรรม โดย นายฟิตรี ดือเร๊ะ
กลุ่มพี่เลี้ยง 1.นางสาวแวฟาซีร่า แวมายิ
2.นางสาวแวโซเฟีย แวหลง
3.นายบัดรี มะสาแม
4.นายมะซาวาวี สาและ
โดยกลุ่มเป้าหมาย 60 คน เด็กนักเรียนโรงเรียนบูกิตประชาอุปถัมภ์ ม.4-ม.6
20
0
2. กิจกรรมหลัก -บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง เพศกับเยาวชนในปัจจุบัน -บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและวิธีการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
วันที่ 15 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
มีการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ เรื่องเพศกับเยาวชนในปัจจุบัน และเรื่องปัญหาและวิธีการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น โดยคุณดานิช ดิงปาเนาะ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สาธารณสุขอำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากที่เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ เยาวชนรู้ถึงสาเหตและวิธีการป้องกันเพื่อไม่ให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น และได้สอบถามรายละเอียดต่างๆเกี่ยวกับเพศศึกษา
60
0
3. กิจกรรมย่อย จัดประชุมคณะทำงาน
วันที่ 4 พฤศจิกายน 2562กิจกรรมที่ทำ
ประชุมถอดบทเรียนคณะทำงานโครงการวัยรุ่น วัยใส ไม่ท้องก่อนวัย ประจำปี 2562
โดยมีนายสอลาฮูดิน อาแว ประธานสภาเด็กและเยาวชนตำบลบูกิต เป็นประธานในที่ประชุมในครั้งนี้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
90 เปอร์เซ็นของเด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการรู้สึกพอใจในการจัดกิจกรรมครั้งนี้
20
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์
30.00
10.00
2
เพื่อให้ความรู้ในเรื่องเพศศึกษาอย่างถุกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องเพศศึกษา
30.00
10.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
30
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์ (2) เพื่อให้ความรู้ในเรื่องเพศศึกษาอย่างถุกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมหลัก -บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง เพศกับเยาวชนในปัจจุบัน -บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและวิธีการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น (2) กิจกรรมย่อย จัดประชุมคณะทำงาน (3) ประชุมคณะกรรมการเตรียมงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการวัยรุ่น วัยใส ไม่ท้องก่อนวัย จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 62-L2479-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสอลาฮูดิน อาแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการวัยรุ่น วัยใส ไม่ท้องก่อนวัย ”
อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายสอลาฮูดิน อาแว
กันยายน 2562
ที่อยู่ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 62-L2479-2-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการวัยรุ่น วัยใส ไม่ท้องก่อนวัย จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยรุ่น วัยใส ไม่ท้องก่อนวัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการวัยรุ่น วัยใส ไม่ท้องก่อนวัย " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2479-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,465.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สภาพสังคมปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงการดำรงชีวิตในสังคมจากครอบครัวขยายกลายเป็นครอบครัวเดียวอีกทั้งสภาพเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้พ่อแม่ต้องประกอบอาชีพนอกบ้านจึงส่งผลให้ครอบครัวขาดความอบอุ่นทางและการดูแลภายในครอบครัวและเกิดการชี้แนะในสิ่งที่เหมาะสมประกอบกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยียุคโลกาภิวัฒน์และวัฒนธรรมทางตะวันตกจึงทำให้เยาวชนถูกกระตุ้นด้วยสิ่งเร้าเช่น สื่อลามกในอินเตอร์เน็ต สิ่งนี้ทำให้เยาวชนเกิดพฤติกรรมทางเพศอย่างไม่เหมาะสมด้วยการขาดวุฒิภาวะและทักษะในการควบคุมอารมณ์ทางเพศของตนเองจึงทำให้เยาวชนมีเพศสัมพันธ์ในเวลาที่ไม่เหมาะสมและขาดความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์วัยรุ่นจึงเป็นวัยที่อาจชักจูงได้ง่าย ขาดความนับถือตนเอง รวมถึงทักษะในการดำรงชีวิตส่งผลให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยง(riskbehavior) ในด้านต่างๆ เช่น การมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ระวัง ส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นทั้งนี้พฤติกรรมเสี่ยงดังกล่าวเป็นสาเหตุหนึ่งของการเสียชีวิตในวัยรุ่นโดยเฉพาะเพศหญิงได้แก่ การทำแท้งเถื่อนการคลอดบุตรทั้งที่อายุน้อยซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้เป็นพฤติกรรมที่สามารถป้องกันหรือหลีกเลี่ยงได้สังคมไทยปัจจุบันตัวเลขวัยรุ่นไทยตั้งท้องในวัยเรียนน้อยสุด ๑๓ ปี และไม่เกิน ๑๙ ปี เพื่อเป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาอันควรที่จะเกิดขึ้นกับวัยรุ่นไทยในอนาคต
สภาเด็กและเยาวชนตำบลบูกิตจึงจัดโครงการวัยรุ่นวัยใส ไม่ท้องก่อนวัยขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมค่านิยมใหม่ให้รู้จักรักและเห็นคุณค่าของตัวเอง เป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นให้ลดน้อยลงหรือหมดสิ้นไปในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์
- เพื่อให้ความรู้ในเรื่องเพศศึกษาอย่างถุกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมหลัก -บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง เพศกับเยาวชนในปัจจุบัน -บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและวิธีการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
- กิจกรรมย่อย จัดประชุมคณะทำงาน
- ประชุมคณะกรรมการเตรียมงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 30 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.วัยรุ่นมีทักษะและภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
2.เสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่น และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต และพฤติกรรมเสี่ยงในเรื่องเพศ
3.วัยรุ่นมีความเข้าใจเรื่องอนามัยเจริญพันธ์ เพศศึกษามากขึ้น
4.วัยรุ่นสามารถให้คำปรึกษาและแก้ปัญหาเรื่องเพศ และสามารถช่วยเหลือเพื่อนในโรงเรียน ในเรื่องปัญหาทางเพศ และสุขภาพได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมคณะกรรมการเตรียมงาน |
||
วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำแบ่งงานตามหน้าที่รับผิดชอบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นควบคุมงานโดยนายสอลาฮูดิน อาแว ประธานสภาเด็กและเยาวชนตำบลบูกิต
ฝ่ายกิจกรรม โดย นายอัลวี เจ๊ะเลาะ หัวหน้าฝ่ายกิจกรรม
ฝ่ายสวัสดิการ โดย นายอานัส อาแวกือจิ หัวหน้าฝ่ายสวัสดิการ
ฝ่ายทะเบียน โดย นางสาวนูรอักมา แมเลาะ
|
20 | 0 |
2. กิจกรรมหลัก -บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง เพศกับเยาวชนในปัจจุบัน -บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและวิธีการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น |
||
วันที่ 15 กรกฎาคม 2562กิจกรรมที่ทำมีการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ เรื่องเพศกับเยาวชนในปัจจุบัน และเรื่องปัญหาและวิธีการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น โดยคุณดานิช ดิงปาเนาะ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สาธารณสุขอำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากที่เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ เยาวชนรู้ถึงสาเหตและวิธีการป้องกันเพื่อไม่ให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น และได้สอบถามรายละเอียดต่างๆเกี่ยวกับเพศศึกษา
|
60 | 0 |
3. กิจกรรมย่อย จัดประชุมคณะทำงาน |
||
วันที่ 4 พฤศจิกายน 2562กิจกรรมที่ทำประชุมถอดบทเรียนคณะทำงานโครงการวัยรุ่น วัยใส ไม่ท้องก่อนวัย ประจำปี 2562 โดยมีนายสอลาฮูดิน อาแว ประธานสภาเด็กและเยาวชนตำบลบูกิต เป็นประธานในที่ประชุมในครั้งนี้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น90 เปอร์เซ็นของเด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการรู้สึกพอใจในการจัดกิจกรรมครั้งนี้
|
20 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์ ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์ |
30.00 | 10.00 |
|
|
2 | เพื่อให้ความรู้ในเรื่องเพศศึกษาอย่างถุกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องเพศศึกษา |
30.00 | 10.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 30 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์ (2) เพื่อให้ความรู้ในเรื่องเพศศึกษาอย่างถุกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมหลัก -บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง เพศกับเยาวชนในปัจจุบัน -บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและวิธีการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น (2) กิจกรรมย่อย จัดประชุมคณะทำงาน (3) ประชุมคณะกรรมการเตรียมงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการวัยรุ่น วัยใส ไม่ท้องก่อนวัย จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 62-L2479-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสอลาฮูดิน อาแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......