กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง


“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 บ้านกรือแซะ ”

ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 บ้านกรือแซะ

ที่อยู่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3032-02-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 บ้านกรือแซะ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 บ้านกรือแซะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 บ้านกรือแซะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L3032-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 30 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์โรคไข้เลือดออกของประเทศไทย มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ในปี 2561 น่าเป็นห่วง อัตราตายสูงขึ้น โดยเฉพาะในภาคกลางและภาคใต้ที่มีอัตราป่วยตายสูงกว่าปกติถึง 2 เท่า โดยปีนี้พบผู้เสียชีวิตในกลุ่มนี้มากถึง 3 ใน 4 ของผู้เสียชีวิตทั้งหมด โดยในปี 2561 จากรายงานสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง พบว่า ในปี 2561 นี้มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกแล้ว 6,565 ราย ซึ่งเป็นจำนวนที่ใกล้เคียงกับทุกปีในช่วงเวลาเดียวกันและได้รับรายงานผู้เสียชีวิต 18 ราย โดยเป็นผู้เสียชีวิตที่มีโรคประจำตัวหรือภาวะเสี่ยง 14 ราย ( 3 ใน 4 ของผู้เสียชีวิตทั้งหมด) ได้แก่ ภาวะอ้วน 4 ราย เบาหวานและความดันโลหิตสูง 2 ราย โรคเลือด 2 ราย ลมชักและบกพร่องทางสติปัญญา 2 ราย ติดสุรา 1 ราย ลิ้นหัวใจรั่ว 1 ราย ทารก 1 ราย และอยู่ระหว่างมีประจำเดือน 1 ราย จังหวัดที่มีอัตราป่วยสูงสุด 10 อันดับแรกในช่วง 4 สัปดาห์ล่าสุด ได้แก่ ภูเก็ต กระบี่ พังงา สมุทรสาคร กรุงเทพมหานคร เพชรบุรี ระนอง ระยอง นครศรีธรรมราช และพิจิตร ตามลำดับ ซึ่งสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ในภาพรวมของประเทศไทยปีนี้ยังไม่มีแนวโน้มว่าจะระบาดรุนแรงแต่จากข้อมูลพบว่ามีอัตราป่วยตายสูงขึ้นจากปกติ โดยเฉพาะในภาคกลางและภาคใต้ที่มีอัตราป่วยตายร้อยละ 0.25 และ 0.26 ตามลำดับ ซึ่งสูงกว่าปกติประมาณ 2 เท่า (กรมควบคุมโรค, 2561) สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 11 กันยายน 2561 ประเทศไทย มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก สะสมรวม 54,808 ราย อัตราป่วย 83.26 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้เสียชีวิต 69 ราย (ข้อมูลจากระบบรายงานการเฝ้าระวังโรค 506 สำนักระบาดวิทยา, 2561) สำหรับในพื้นที่เขต 12 พบผู้ป่วย 2,506 ราย (เพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ที่ผ่านมา 134 ราย) คิดเป็น 0.43 เท่า เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันในปีที่ผ่านมา อัตราป่วย 52.25 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยเสียชีวิต 4 ราย (จังหวัดตรัง 2 รายและจังหวัดสงขลา 2 ราย) คิดเป็นอัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.16 จังหวัดที่พบอัตราป่วยสูงสุด คือ จังหวัดสงขลา 74.68 ต่อแสนประชากร (1,056 ราย) รองลงมา คือ จังหวัดตรัง 66.43 ต่อแสนประชากร (426 ราย) จังหวัดพัทลุง อัตราป่วย 57.91 ต่อแสนประชากร (303 ราย) จังหวัดยะลา 36.72 ต่อแสนประชากร (191 ราย) จังหวัดนราธิวาส 35.86 ต่อแสนประชากร (282 ราย) จังหวัดปัตตานี 31.54 ต่อแสนประชากร (220 ราย) และจังหวัดสตูล 25.89 ต่อแสนประชากร (82 ราย) (สำนักระบาดวิทยา. 2561)   การเฝ้าระวังการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่จังหวัดปัตตานี ที่มีอัตราป่วย 31.54 ต่อแสนประชากร 220 ราย อำเภอยะรัง เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกมาอย่างต่อเนื่อง โดยมีอัตราป่วยประจำปีงบประมาณ 2561 มีอัตราป่วยตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา จำนวน ๓๕ ราย (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี, 2561) จะเห็นได้ว่าในช่วงฤดูฝนนี้ อัตราการป่วยมีแนวโน้มสูงขึ้น การเตรียมความพร้อมในการป้องกันโรคไข้เลือดออกประกอบด้วย 3 เรื่องสำคัญ คือ 1) การป้องกันการถูกยุงกัด โดยทายากันยุง นอนในมุ้ง กำจัดยุงตัวเต็มวัยด้วยสเปรย์ ไม้ช็อตไฟฟ้า พร้อมกำจัดลูกน้ำและแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในภาชนะที่มีน้ำใสและนิ่ง เช่น ถาดรองขาตู้ ยางรถยนต์เก่า กระถางต้นไม้ เป็นต้น 2) การเฝ้าระวังอาการของโรค เช่น ไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย เบื่ออาหาร หน้าแดง ผิวหนังเป็นจุดเลือด อาเจียน ปวดท้อง และ 3) การไปพบแพทย์เร็วเมื่อป่วยและมีไข้สูง เพื่อให้แพทย์วินิจฉัยโรค และเฝ้าระวังเป็นพิเศษในช่วงไข้ลดหากเกิดอาการช็อกจากไข้เลือดออก ต้องรีบกลับไปโรงพยาบาลให้เร็วสุด อย่างไรก็ตามประชาชนต้องให้ความสำคัญกับมาตรการ 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค คือ 1) เก็บบ้านให้สะอาด โปร่ง โล่ง ไม่ให้มีมุมอับทึบ เป็นที่เกาะพักของยุง 2) เก็บขยะ เศษภาชนะรอบบ้าน โดยทำต่อเนื่องสัปดาห์ละครั้ง ไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ และ 3) เก็บน้ำ สำรวจภาชนะใส่น้ำ ต้องปิดฝาให้มิดชิด ป้องกันยุงลายไปวางไข่ เพื่อป้องกัน 3 โรค คือ โรคไข้เลือดออก โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย หากช้าอาจทำให้เสียชีวิตได้
    ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ฉะนั้น หมู่ที่ 1  บ้านกรือแซะ มีประชากรทั้งหมด 1,374 คน จำนวนครัวเรือน 252 ครัวเรือน จึงเห็นความสำคัญต่อการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก เพื่อประชาชนได้รับการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดอย่างทั่วถึง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดซื้อทรายอะเบท
  2. เพื่อจัดซื้อน้ำยาเคมี
  3. เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม จัดซื้อทรายอะเบท เพื่อแจกจ่ายในการกำจัดลูกน้ำยุงลายบริเวณบ้านหมู่ที่ 1
  2. กิจกรรม จัดซื้อน้ำยาเคมีภัณฑ์ เพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยการพ่นหมอกควันในพื้นที่ที่มีการระบาด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 252
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนได้รับการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
  2. ประชาชนมีการดูแลสภาพแวดล้อมบริเวณบ้านในการป้องกันการแพร่ระบาดของไข้เลือดออก
  3. ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดซื้อทรายอะเบท
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 100 ประชาชนได้รับการบริการช่วยเหลือในการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออกจากทรายอะเบท
1.00

 

2 เพื่อจัดซื้อน้ำยาเคมี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ประชาชนได้รับการบริการช่วยเหลือในการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออกในการพ่นหมอกควัน
1.00

 

3 เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 252
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 252
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดซื้อทรายอะเบท (2) เพื่อจัดซื้อน้ำยาเคมี (3) เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม จัดซื้อทรายอะเบท เพื่อแจกจ่ายในการกำจัดลูกน้ำยุงลายบริเวณบ้านหมู่ที่ 1 (2) กิจกรรม จัดซื้อน้ำยาเคมีภัณฑ์ เพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยการพ่นหมอกควันในพื้นที่ที่มีการระบาด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 1 บ้านกรือแซะ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3032-02-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด