กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค ”

ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาว คัสรีนา ดุลย์ธารา

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค

ที่อยู่ ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3068-10(1)- เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 มิถุนายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L3068-10(1)- ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 30 มิถุนายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเรื้อนเป็นโรคซึ่งทั่วทั่วโลกกำลังให้ความสนใจอย่างยิ่ง เนื่องจากตัวเลขของผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในปัจจุบันพบว่า มีผุ้ป่วยด้วยโรคเบาหวานทั้งสิ้น 189 ล้านคนและคาดว่าในอีก 20 ปีข้างหน้าจพมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นถึง 324 ล้านคน ที่เป็นห่วงคือผู้ป่วยโรคเบาหวานส่วนใหญ่เสียชีวิตจากภาวะโรคแทรกซ้อน ซึ่งเป็นสิ่งที่เราสามารถป้องกันและควบคุมได้ อีกทั้งพบว่าายุเฉลี่ยของการเริ่มต้นป่วยโรคเบาหวานนั้นน้อยลงเรื่อยๆและมีแนวโน้มจะลุกลามไปถึงเด้กในอนาคตอันใกล้ด้วยวิถีการดำรงชีวิตที่เปลี่ยนไป โดยเฉพาะเรื่องการับประทานอาหาร โรคเรื้อรัง นอกจากจะเป้นดรคที่รักษาไม่หายแล้ว ยังเชื่อมโยงไปสู่โรคแทรกซ้อนอื่นๆอีกมากมาย เช่นโรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และหลอดเลือด สำหรับเหตุหลักที่ทำให้เกิดโรคเบาหวาน คือ กรรมพันธ์ และสิ่งแวดล้อม ในส่วนของกรรมพันธ์นั้นเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญขึ้นเรื่อยๆ เมื่อมีอายุมากขึ้น ขณะที่สิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยเสี่ยงที่เริ่มต้นตั้งแต่ในครรภ์แม่ แม้กรรมพันธ์จะเป็นสิ่งที่แก้ไขไม่ได้แต่ก็สามารถควบคุมปัจจัยเรื่องอาหารและสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคเบาหวานได้การรักษษเบาหวานโดยการให้ความสำคัญเฉพาะด้านการแพทย์จึงไม่เพียงพอ เพื่อการควบคุมโรคที่สมบูรณ์ผู้ป่วยและผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงหรือประชาชนทั่วไปต้องได้รับความรู้เรื่องโรค รวมไปถึงความรู้เรื่องโภชนาการและการออกหกำลังกายที่ถูกต้อง พร้อมทั้งได้รับการกระตุ้นการเปลี่ยนพฤติกรรมผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น ค่ายเบาหวานหรือกิจกรรมชมรมอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งถ้าปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดตั้งแต่ระยะต้นกฌจะสามารถใช้ชีวิตย่างมีความสุข เช่น คนปกติโเยปราศจากโรคแทรกซ้อน ซึ่งทางทีมผู้ดูแลเกี่ยวกับโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวา ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกับการดูแลตนเองเพื่อให้ห่างไกลโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบางตาวา จึงหได้ออกรรณงค์คัดกรองความดัน/เบาหวานในกลุ่มประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไป เขตรับผิดชอบจำนวน 1,055 คิดเป็นร้อยละ 10.91 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวา จึงได้จัดโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค โดยเน้นกิจกรรมที่เป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาวหวาน/ความดันและผู้เข้าร่วมโครงการครั้งนี้ยังเป็นแกนนำในการรณรงค์ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงต่อไปในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อลดอัตราป่วยของโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
  2. 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  3. 3.เพื่อกระตุ้นและปลุกจิตสำนึกให้ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤตืกรรมเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ เรื่อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อัตราผู้ป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานลดลง
  2. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  3. ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญขงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้ เรื่อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

วันที่ 6 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เพื่อจัดทโครงการ
  2. เขียนโครงการเพื่อเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบางตาวาเพื่อขออนุมัติเงินสนับสนุนโครงการ
  3. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อบต. โรงเรียน ชุมชน รพสต.และอื่นๆร่วมกันวางแผนดำเนินงาน
  4. จัดซื้อวัสดุอปกรณ์ตลอดจนจัดเตรียมสถานที่สำหรับกิจกรรม
  5. ประชาสัมพันธ์ ให้กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 6.จัดกิจกรรมคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปี ขึ้นไปพร้อมแจ้งผลการคัดกรองให้กลุ่มเป้าหมายทราบ
  6. สรุป จัดทำทพเบียนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และส่งต่อกลุ่มสงสัยป่วย 8.ประชาสัมพันธ์ ให้กลุ่มที่เสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 9.จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและดวามความดันโลหิตสูง
  7. ติดตามและประเมินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

.อัตราผู้ป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานลดลง 2.ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3. ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อลดอัตราป่วยของโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
ตัวชี้วัด : อัตราผุ้ป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานลดลง
0.00

 

2 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : มีความรู้ ความเข้าใจ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
0.00

 

3 3.เพื่อกระตุ้นและปลุกจิตสำนึกให้ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤตืกรรมเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน
ตัวชี้วัด : ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัยของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อลดอัตราป่วยของโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน (2) 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้  ความเข้าใจ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (3) 3.เพื่อกระตุ้นและปลุกจิตสำนึกให้ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤตืกรรมเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ เรื่อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรค จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3068-10(1)-

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาว คัสรีนา ดุลย์ธารา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด