กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารก ”

ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรี สุวรรณฤกษ์.

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารก

ที่อยู่ ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3068-10(1)-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารก จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L3068-10(1)-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การฝากครรภ์เป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพประชากรเริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์ เพื่อการตั้งครรภ์และ การคลอดเป็นไปด้วยความราบรื่น มารดาและทารกปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อนและมีสุขภาพแข็งแรง ครรภ์คุณภาพเป็นเป้าหมายหลักของการให้บริการฝากครรภ์ทุกหน่วยบริการสาธารณสุข ซึ่ง จุดเริ่มต้นที่สำคัญของการฝากครรภ์คุณภาพคือการที่หญิงตั้งครรภ์มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ เพื่อให้สามารถให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ได้ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ในไตรมาสแรก ช่วยในการค้นหาหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงหรือมีภาวะแทรกซ้อน ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อทั้งสุขภาพของมารดาและทารกในครรภ์ หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางจะมีความเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด เพื่อให้ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมและมีคุณภาพ เกิดความปลอดภัยทั้งมารดาและทารกในครรภ์
  ทุกวันนี้ ต้น ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์เป็นปัญหาด้านการแพทย์และสาธารณสุขที่สำคัญปัญหาหนึ่งที่พบในทุกภูมิภาคของประเทศโดยเกิดขึ้นต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน และเป็นสาเหตุการตายของมารดาและทารกที่พบบ่อย จากการศึกษาพบว่าสาเหตุการตายของดามีความสัมพันธ์กับการมีภาวะโลหิตจางร่วมด้วยถึงร้อยละ 40 (ธีระ ทองสงและชเนนทร์ วนาภิรักษ์ : 2535 ) ซึ่งสาเหตุของการเกิดภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กจะส่งผลกระทบต่อหญิงตั้งครรภ์โดยในช่วงแรกทำให้อัตราการตายของมารดาและทารกระหว่างการคลอดสูง การตั้งครรภ์จะทำให้เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนดและทารกแรกเกิดคลอดน้ำหนักตัวน้อยกว่าปกติ นอกจากนี้ยังส่งผลทำให้เด็กที่เกิดมามีพัฒนาการทางสมองลงลง เกิดผลเสียต่อการเรียนรู้ ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์นั้นเป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยที่สุด อุบัติการณ์พบได้สูงถึงร้อยละ 30 ในบางพื้นที่ (WHO 1989) จากการรายงานพบว่าปี2559,2560,2561 พบหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางในตำบลบางตาวา คิดเป็นร้อยละ6,6.55,12.16% ตามลำดับ ซึ่งพบว่ามีแนวโน้มสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด เกณฑ์ที่กำหนดไว้ไม่เกินร้อยละ 10 และปี 2559 พบมารดาเสียชีวิตจากการตกเลือดหลังคลอดจำนวน 1 ราย ซึ่งภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์เป็นปัญหาที่สามารถป้องกันได้   ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวา ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการ “อนามัยแม่และเด็กลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย” เพื่อป้องกันอันตรายจากภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ มีภาวะโภชนาการดีตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กดีขึ้น  มีการตั้งครรภ์เมื่อพร้อมตั้งแต่อายุ 20 ขึ้นไป ไปรับการตรวจสุขภาพเร็วที่สุดตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ รับการตรวจครรภ์เป็นระยะอย่างสม่ำเสมอ ฝากครรภ์อย่างน้อย 5 ครั้ง และได้รับการคลอดในสถานบริการ(โรงพยาบาล)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1..เพื่อให้วัยเจริญพันธ์ คู่สมรสใหม่มีการเตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์
  2. 2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รู้จักวิธีการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์
  3. 3.เพื่อให้ อสม.รู้จักวิธีการดูแลหญิงตั้งครรภ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงแก่วัยเจริญพันธ์ชายหญิงอายุ๑๕-๔๕ ปีและกลุ่มที่มีภาวะสี่ยงที่อาจจะตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงและคู่สมรสที่มีภาวะเสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 85
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เพื่อให้วัยเจริญพันธ์ คู่สมรสใหม่มีการเตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์
  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รู้จักวิธีการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์
  3. เพื่อให้ อสม.รู้จักวิธีการดูแลหญิงตั้งครรภ์

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมชี้แจงแก่วัยเจริญพันธ์ชายหญิงอายุ๑๕-๔๕ ปีและกลุ่มที่มีภาวะสี่ยงที่อาจจะตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงและคู่สมรสที่มีภาวะเสี่ยง

วันที่ 25 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำโครงการเพื่อเสนออนุมัติโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบางตาวา
  2. ประชุมชี้แจงโครงการและแนวทางการดำเนินการแก่เจ้าหน้าที่
  3. ประชาสัมพันธ์โครงการแก่กลุ่มเป้าหมาย
  4. ประชุมชี้แจงแก่วัยเจริญพันธ์ชายหญิงอายุ๑๕-๔๕ ปีและกลุ่มที่มีภาวะสี่ยงที่อาจจะตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงและคู่สมรสที่มีภาวะเสี่ยง คู่สมรสใหม่และอาสาสมัครสาธารณสุขในเรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์ในรายที่มีภาวะเสี่ยง การปฏิบัติตัวและอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นในหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง การปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์
    5.ตรวจ HCT กลุ่มเป้าหมายทุกรายก่อนประชุมชี้แจง และจ่ายยา folic ในรายที่ซีด พร้อมติดตามเจาะ  HCT ณ.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวา
  5. ติดตามค้นหาวัยเจริญพันธ์ชายหญิง อายุ15-45 ปีที่มีภาวะสี่ยงที่อาจจะตั้งครรภ์ คู่สมรสใหม่และติดตามให้คำแนะนำจ่ายยา folic acid ในหญิงวัยเจริญพันธ์และหญิงตั้งครรภ์ที่ซีดเพื่อป้องกันภาวะซีด
  6. สรุปและประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1วัยเจริญพันธ์และ คู่สมรสใหม่รู้จักและมีการเตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์ 2. หญิงตั้งครรภ์รู้จักวิธีการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ 3. อสม.รู้จักวิธีการดูแลหญิงตั้งครรภ์

 

85 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1..เพื่อให้วัยเจริญพันธ์ คู่สมรสใหม่มีการเตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์เพิ่มขึ้น
0.00

 

2 2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รู้จักวิธีการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ซีดจากการเจาะ Lab2 น้อยลง
0.00

 

3 3.เพื่อให้ อสม.รู้จักวิธีการดูแลหญิงตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : ทารกแรกคลอดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัมลดลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 85
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 85
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1..เพื่อให้วัยเจริญพันธ์ คู่สมรสใหม่มีการเตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์ (2) 2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รู้จักวิธีการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ (3) 3.เพื่อให้ อสม.รู้จักวิธีการดูแลหญิงตั้งครรภ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงแก่วัยเจริญพันธ์ชายหญิงอายุ๑๕-๔๕ ปีและกลุ่มที่มีภาวะสี่ยงที่อาจจะตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงและคู่สมรสที่มีภาวะเสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารก จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3068-10(1)-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรี สุวรรณฤกษ์. )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด