กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม


“ เยี่ยมบ้านเยี่ยมใจ ผู้สูงวัย ผู้พิการ ด้อยโอกาส เพื่อสุขกาย สุขใจ ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาตูม

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฟาตีเมาะ กาลม

ชื่อโครงการ เยี่ยมบ้านเยี่ยมใจ ผู้สูงวัย ผู้พิการ ด้อยโอกาส เพื่อสุขกาย สุขใจ

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาตูม จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-L3027-01-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"เยี่ยมบ้านเยี่ยมใจ ผู้สูงวัย ผู้พิการ ด้อยโอกาส เพื่อสุขกาย สุขใจ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาตูม

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เยี่ยมบ้านเยี่ยมใจ ผู้สูงวัย ผู้พิการ ด้อยโอกาส เพื่อสุขกาย สุขใจ



บทคัดย่อ

โครงการ " เยี่ยมบ้านเยี่ยมใจ ผู้สูงวัย ผู้พิการ ด้อยโอกาส เพื่อสุขกาย สุขใจ " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาตูม รหัสโครงการ 60-L3027-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 66,140.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging society) แล้วหากพิจารณาจากคำจำกัดความที่ว่าสังคมผู้สูงอายุคือ สังคมที่มีประชากรอายุปีขึ้นไปมากกว่า 10% หรือ มีประชาชนที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไปมากกว่า 7% ประเทศไทย ก็เป็นสังคมผู้สูงอายุแล้วตั้งแต่ปี 2548 เพราะตอนนั้นประเทศไทยมีประชากรตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป 10.4% และยังคาดการณ์ว่าในอีก 20 ปีข้างหน้าสังคมไทยจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์(Aged Society) โดยพิจารณาจากจำนวนประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่า20% หรือมีประชากรที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไปเกินกว่า 14% คาดว่าในปี 2571 ประเทศไทยจะมีผู้อายุเกิน 60 ปี 23.5% ประเทศไทยเมื่อเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ อีกทั้งในพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 มาตรา 11 ผู้สูงอายุได้รับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนในด้านต่างๆ วรรค 1 การบริการทางการแพทย์และการสาธารณสุข ที่จัดไว้โดยให้ความสะดวกและรวดเร็วแก่ผู้สูงอายุเป็นกรณีพิเศษ ขณะเดียวกันรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ส่วนที่ 9 สิทธิในการได้รับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ มาตรา 53 บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์และไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ มีสิทธิได้รับสวัสดิการ สิ่งอำนวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะอย่างสมศักดิ์ศรี และความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ จึงควรมีการเตรียมการเพื่อรองรับโดยเมื่อมีคนแก่หรือคนชรามากขึ้นสัดส่วนคนทำงานลดลงผลผลิตโดยรวมก็จะลดลงส่งผลให้รายได้ของประเทศลดลง เกิดปัญหาทางด้านเศรษฐกิจของประเทศได้ผู้สูงอายุต้องเกษียณจากการงานไม่มีรายได้ต้องอาศัยรายได้จากเงินที่เก็บออมไว้ถ้าหากไม่มีเงินออมไว้มากพอก็จะส่งผลให้เกิดปัญหาในการดำรงชีพเป็นภาระแก่สังคมที่ต้องช่วยเหลือเกื้อกูลจัดสวัสดิการต่างๆให้เหมาะสมและเพียงพอเมื่อถึงวัยสูงอายุสภาพร่างกายและจิตใจมีการเปลี่ยนแปลงต้องมีการปรับตัวและที่สำคัญเมื่ออายุมากขึ้น สภาพร่างกายเริ่มเสื่อมถอยลงปัญหาด้านสุขภาพก็จะตามมาซึ่งทั้งหมดเป็นปัญหาที่ทุกภาคส่วนสมควรมีการเตรียมการเพื่อรองรับจำนวนผู้สูงอายุที่จะมีเพิ่มขึ้นและเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้น การดูแลติดตาม เยี่ยมบ้าน จึงเป็นวิธีการหนึ่งที่สำคัญที่จะช่วยลดปัญหาสุขภาพและลดภาระค่าใช้จ่ายต่างๆที่อาจเกิดขึ้นจากความเจ็บป่วยอย่างยั่งยืน ทั้งต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคม ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาตูม และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านจาเราะบองอ จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลติดตาม เยี่ยมบ้าน เพื่อลดปัญหาสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นของผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาสในชุมชน จึงได้มีการจัดทำโครงการเยี่ยมบ้านเยี่ยมใจ ผู้สูงวัย ผู้พิการ ด้อยโอกาส เพื่อสุขภาพที่ก้าวหน้า ขึ้น เพื่อให้เกิดการดูแลปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาสในพื้นที่แบบองค์รวม อย่างยั่งยืน จะส่งผลทำให้ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาสในพื้นที่ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี ไม่เป็นภาระของครอบครัวและสังคม ใช้ชีวิตอย่างปกติสุขและยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ดูแล ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาส มีความรู้ ความสามารถ ในการดูแลและลดการพึ่งพิงของผู้ดูแลได้
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาส ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน ดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องโดยทีมสุขภาพ
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง ทั้งด้านสิทธิประโยชน์ต่างๆ และความช่วยเหลือ ที่ควรจะได้รับจากทุกภาคส่วน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 60
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาส รวมถึงผู้ดูแล เห็นความสำคัญของการดูแล ส่งเสริม สุขภาพ และป้องกันภาวะ แทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นได้
    2. ผู้ดูแล ได้รับความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาส ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
    3. ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาส ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านและดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องจากทีมสุขภาพ
    4. ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาสอย่างเท่าเทียมกัน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.ผู้ดูแลสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติกับผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาสได้ ร้อยละ 85.26 2.ผุ้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาส ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน ร้อยละ 97.01 3.ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ก้อยโอกาส ได้รับการดูแล ช่วยเหลือตามสิทธิประโยชน์ที่ควรได้รับ ร้อยละ 97.01

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้ดูแล ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาส มีความรู้ ความสามารถ ในการดูแลและลดการพึ่งพิงของผู้ดูแลได้
    ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติกับผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาสได้ ร้อยละ 80

     

    2 เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาส ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน ดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องโดยทีมสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาสได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน ร้อยละ 90

     

    3 เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง ทั้งด้านสิทธิประโยชน์ต่างๆ และความช่วยเหลือ ที่ควรจะได้รับจากทุกภาคส่วน
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาสได้รับการดูแลช่วยเหลือตามสิทธิประโยชน์ที่ควรได้รับ ร้อยละ 90

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 60
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ดูแล ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาส มีความรู้ ความสามารถ ในการดูแลและลดการพึ่งพิงของผู้ดูแลได้ (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาส ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน ดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องโดยทีมสุขภาพ (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง ทั้งด้านสิทธิประโยชน์ต่างๆ และความช่วยเหลือ ที่ควรจะได้รับจากทุกภาคส่วน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    เยี่ยมบ้านเยี่ยมใจ ผู้สูงวัย ผู้พิการ ด้อยโอกาส เพื่อสุขกาย สุขใจ จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-L3027-01-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวฟาตีเมาะ กาลม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด