กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการหมู่บ้านสะอาดปราศจากโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ ”

ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางศรัณยา ปูเตะ

ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านสะอาดปราศจากโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้

ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-l4143-01-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหมู่บ้านสะอาดปราศจากโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหมู่บ้านสะอาดปราศจากโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหมู่บ้านสะอาดปราศจากโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-l4143-01-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 84,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข และเป็นปัญหาซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มของการเกิดโรคสูงขึ้น ในอดีตที่ผ่านมา การเกิดโรคมักจะระบาดในช่วงฤดูฝน ดังนั้นการที่จะให้ได้ผลอย่างเต็มที่จึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกครัวเรือนร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและผู้นำชุมชนช่วยกันป้องกันโรคดังกล่าวในหลากหลายรูปแบบ เช่น การรณรงค์ การร่วมมือกับโรงเรียน ชุมชน สถานที่ราชการต่างๆ การจัดการฆ่าลูกน้ำ การพ่นหมอกควันและสารเคมี  การกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย การใช้วิธีทางธรรมชาติในการกำจัดลูกน้ำ และสำคัญที่สุด คือการรู้จักป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัด
จากสถานการณ์ไข้เลือดออกพบอัตราป่วยสะสมของโรคไข้เลือดออก ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2561        ถึงวันที่ 4 กันยายน 2561 จังหวัดยะลาติดอันดับ 64 มียอดผู้ป่วย 181 คน คิดเป็นอัตราป่วย 34.79 ต่อประชากร  แสนคน เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและเป็นการกระตุ้นให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน ร่วมทั้งประชาชนโดยทั่วไปได้ทราบและเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยการ  กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงที่เป็นพาหะนำโรค ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในชุมชน ส่งผลให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก
ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสะเตงนอก ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาและสถานการณ์ที่เกิดขึ้น จึงได้จัดทำโครงการหมู่บ้านสะอาดปราศจากโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดและร่วมมือกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมในหมู่บ้านในที่พักอาศัยของตนเองให้สะอาด ถูกสุขลักษณะและรักษาให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืน ซึ่งถ้าหมู่บ้าน/ชุมชนมีความสะอาดแล้วโรคติดต่อต่างๆที่เกิดขึ้นในชุมชนก็จะลดลงได้เป็นอย่างมากส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง ส่งผลให้มีภาวะเศรษฐกิจที่ดีต่อไปได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. ประชาชนมีความรู้และพฤติกรรมป้องกันตนเองจากโรคติดต่อนำโดยยุงลายอย่างถูกต้อง ร้อยละ 80
  2. 2. การลดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วมรับผิดชอบของทุกภาคส่วน ร้อยละ 80
  3. 3. ส่งเสริมให้ประชาชนเกิดความรู้ ความเข้าใจการมีพฤติกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 70

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อที่ป้องกันได้ให้กับแกนนำหมู่บ้าน
  2. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมรณรงค์ทำความสะอาดหมู่บ้าน/ที่พักอาศัย
  3. กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมประกวดหมู่บ้านสะอาด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนทุกครัวเรือนช่วยกันดูแล สำรวจลูกน้ำยุงลายในบ้านของตนเอง พร้อมกับสร้างสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมไม่เอื้อต่อการเกิดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
2.การมีส่วนร่วมของทุกภาคีเครือข่ายในการจัดการลดทำลายแหล่งเพาะพันธ์อย่างยั่งยืน 3.ประชาชนให้ความสำคัญกับการป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น ลดปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นในทุกขั้นตอน สนับสนุนการนำกลับมาใช้ใหม่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อที่ป้องกันได้ให้กับแกนนำหมู่บ้าน

วันที่ 22 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทำโครงการ เสนอผู้บริหารขออนุมัติโครงการ 2.ประชุมชี้แจงโครงการฯ แก่ผู้นำชุมชน, อสม. ประชาชนในทุกหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องเพื่อทำความเข้าใจและขอความร่วมมือในการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้อยละ 80 ของประชาชนเข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้

 

60 0

2. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมรณรงค์ทำความสะอาดหมู่บ้าน/ที่พักอาศัย

วันที่ 1 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ประสานงานกับหน่วยงาน/ องค์กรที่เกี่ยวข้อง 2.จัดกิจกรรมดำเนินการรณรงค์ทำความสะอาดหมู่บ้าน/ ที่พักอาศัยทั้งตำบล/ทุกหมู่บ้าน (บ้านเรือน)ให้ถูกสุขลักษณะ และปรับปรุงภูมิทัศน์ในหมู่บ้านให้สวยงามอย่างต่อเนื่องทุกสัปดาห์  โดยประชาชน อสม., ผู้นำชุมชน, ผู้บริหาร และองค์กรต่างๆในชุมชนทุกภาคส่วน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.สามารถลดอัตราป่วยของโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 50 คนต่อแสนประชากร 2.ประชาชนเห็นถึงความสำคัญและร่วมแรงร่วมใจในการรักษาความสะอาดและปรับปรุงสภาพแวดล้อม

 

780 0

3. กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมประกวดหมู่บ้านสะอาด

วันที่ 6 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

แต่งตั้งคณะกรรมการ ออกประกวดหมู่บ้าน/ชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.สามารถลดอัตราป่วยของโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 50 คนต่อแสนประชากร 2.ประชาชนเกิดขวัญกำลังใจและเป็นแบบอย่างในการรณรงค์รักษาความสะอาดหมู่บ้าน

 

5 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

วันที่ 22 มีนาคม 2562 มีการอบรมผู้นำชุมชน , อสม. , ประชาชนในหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทำความเข้าใจหลักเกณฑ์และการทำความสะอาดให้ถูกลักษณะปรับปรุงภูมิทัศน์ในหมู่บ้านให้สวยงาม วันที่ 1 - 5 เมษายน 2562 รณรงค์ทำความสะอาดหมู่บ้าน/ที่พักอาศัย (บ้านเรือน) ทั้ง 13 หมู่บ้าน ให้ถูกสุขลักษณะปรับปรุงภูมิทัศน์ในหมู่บ้านให้สวยงามอย่างต่อเนื่องทึกสัปดาห์ โดยประชาชน อสม. ผู้นำชุมชน , ผู้บริหาร และองศ์กรต่างๆในชุมชนทุกภาคส่วน วันที่ 6 – 7 เมษายน 2562 คณะกรรมการลงตรวจประเมินหมู่บ้าน พร้อมผู้นำชุมชนและอสม. , ได้ลงไปตรวจหมู่บ้านที่เข้าร่วมประกวดหมู่บ้านสะอาดปราศจากโรคติดต่อที่สามรถป้องกันได้ วันที่ 27 กรกฎาคม 2562 ประกาศหมู่บ้านที่ผ่านเกณฑ์รางวัลชนะเลิศได้แก่ กำปงบูเกะ หมู่ 8 รองชนะเลิศ อันดับ 1 ได้แก่ ซอยมีเกียรติ หมู่ 12 รองชนะเลิศอันดับ 2 ได้แก่ ซอยบาเก็ง หมู่ 1 รางวัลชมเชย ได้แก่ กำปงตือเงาะ หมู่ 11, ตือโล๊ะกือบอ หมู่ 6, พงยาวี หมู่ 2 และบ้านปรามะ หมู่ 13 จากการดำเนินงานกิจกรรมโครงการดังกล่าวลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้าน ชุมชน อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกน้อยลง มีส่วนร่วมภาคีเครือข่ายในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้อดออกในชุมชน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. ประชาชนมีความรู้และพฤติกรรมป้องกันตนเองจากโรคติดต่อนำโดยยุงลายอย่างถูกต้อง ร้อยละ 80
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. การลดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วมรับผิดชอบของทุกภาคส่วน ร้อยละ 80
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3. ส่งเสริมให้ประชาชนเกิดความรู้ ความเข้าใจการมีพฤติกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 70
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ประชาชนมีความรู้และพฤติกรรมป้องกันตนเองจากโรคติดต่อนำโดยยุงลายอย่างถูกต้อง  ร้อยละ 80 (2) 2. การลดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วมรับผิดชอบของทุกภาคส่วน  ร้อยละ 80 (3) 3. ส่งเสริมให้ประชาชนเกิดความรู้ ความเข้าใจการมีพฤติกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม  ร้อยละ 70

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1  กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อที่ป้องกันได้ให้กับแกนนำหมู่บ้าน (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมรณรงค์ทำความสะอาดหมู่บ้าน/ที่พักอาศัย (3) กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมประกวดหมู่บ้านสะอาด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหมู่บ้านสะอาดปราศจากโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-l4143-01-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศรัณยา ปูเตะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด