กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และชิคุนกุนยา ในชุมชนหน้าค่าย (ซอยโสภณฯ) ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางเตือนใจ สมศักดิ์




ชื่อโครงการ รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และชิคุนกุนยา ในชุมชนหน้าค่าย (ซอยโสภณฯ)

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7258-2-19 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562

กิตติกรรมประกาศ

"รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และชิคุนกุนยา ในชุมชนหน้าค่าย (ซอยโสภณฯ) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และชิคุนกุนยา ในชุมชนหน้าค่าย (ซอยโสภณฯ)



บทคัดย่อ

โครงการ " รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และชิคุนกุนยา ในชุมชนหน้าค่าย (ซอยโสภณฯ) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-2-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,060.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก และโรคชิคุนกุนยา เป็นโรคติดต่อซึ่งมียุงลายบ้านและยุงลายสวนเป็นแมลงพาหะนำโรคที่สำคัญ การระบาดของโรคไข้เลือดออก และโรคชิคุนกุนยา เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในปีนี้ระบาดในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช่จ่ายในการรักษาพยาบาล โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนจะพบผู้ป่วยเป็นจำนวนมากเนื่องจากฝนที่ตกลงมาทำให้เกิดน้ำขังในภาชนะต่างๆ หรือแหล่งขยะ ที่ก่อให้เกิดน้ำขัง จึงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เพิ่มจำนวนประชากรของยุงลายพาหะนำโรคได้เป็นอย่างดี การปรับพื้นที่สิ่งแวดล้อมที่ก่อให้เกิดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย จึงเป็นสิ่งที่จำเป็นมาก โดยเฉาะการจัดการแหล่งขยะในพื้นที่อย่างถูกวิธี ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชน เนื่องจากบ้านเรือนอยู่อย่างหนาแน่น ทำให้ยุงที่มีเชื้อโรคจากบ้านผู้ป่วย สามารถบินไปกัดคนอื่นๆ ที่อยู่บ้านใกล้เคียงได้ง่าย ประกอบกับประชาชนขาดความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก ป้องกันควบคุมโรคไม่ถูกต้องไม่ถูกวิธี และต่อเนื่อง บ้านเรือนประชาชนส่วนใหญ่ ยังไม่ได้กำจัดลูกน้ำอย่างจริงจัง จึงทำให้มียุงลายเกิดขึ้นใหม่ในชุมชนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทางชุมชนหน้าค่าย (ซอยโสภณฯ) ได้จัดทำโครงการ รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และชิคุนกุนยา ในชุมชนหน้าค่าย(ซอยโสภณฯ) ขึ้น โดยดำเนินการจัดกิจกรรมรณรงค์ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงในอาคารบ้านเรือน และชุมชน จัดการสิ่งแวดล้อมปรับปรุงภูมิทัศน์ ทำความสะอาดรอบบ้านเรือน เก็บขยะ ล้างท่อระบายน้ำไม่ให้มีน้ำขัง เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง เป็นการสร้างจุดแข็งของชุมชนในการดำเนินการควบคุมลูกน้ำยุงลาย ประชาชนได้ตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก และโรคชิคุนกุนยา และช่วยกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อประชาสัมพันธ์และให้ความรู้คนในชุมชนหน้าค่าย (ซอยโสภณฯ) 2.เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ และพื้นที่เป็นพาหะนำโรคในชุมชน 3.เพี่อลดอัตราผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและชิคุนกุนยา ในชุมชนหน้าค่าย (ซอยโสภณฯ)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สื่อสารและประชาสัมพันธ์
  2. วัสดุและครุภัณฑ์
  3. ประชุมเตรียมงาน
  4. อบรมให้ความรู้
  5. เดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน
  6. สรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในชุมชนหน้าค่าย (ซอยโสภณฯ) มีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและชิคุนกุนยา เพิ่มขึ้น สามารถป้องกัน ดูแลตนเองและคนในครอบครัวได้
  2. ประชาชนในชุมชนหน้าค่าย (ซอยโสภณฯ) สามารถกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์โรคได้ ทำให้แหล่ง เพาะพันธุ์โรคในชุมชนลดลงและผู้ป่วยไข้เลือดออกในชุมชนหน้าค่าย (ซอยโสภณฯ) น้อยลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สื่อสารและประชาสัมพันธ์

วันที่ 12 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

นำป้ายไวนิลติดบริเวณชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ป้ายไวนิลโครงการอบรม ขนาด 24 เมตร จำนวน 1 ผืน
-ป้ายไวนิลรณรงค์ในชุมชน ขนาด 1.5
2.5 เมตร จำนวน 4 ผืน -แผ่นพับรณรงค์

 

0 0

2. วัสดุและครุภัณฑ์

วันที่ 12 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้ออุปกรณ์ที่ใช้ในกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตะแกรงใส่ขยะขนาด311 เมตร

 

0 0

3. ประชุมเตรียมงาน

วันที่ 12 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการเพื่อเตรียมความพร้อมในการทำกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินกิจกรรมได้อย่างราบรื่น

 

20 0

4. อบรมให้ความรู้

วันที่ 12 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดหาวิทยากรมาให้ความรู้แก่คนในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คนในชุมชนได้รับความรู้เรื่องการจัดการขยะ ,ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในชุมชนลดพื้นที่เสี่ยงในการเกิดโรคไข้เลือดออกและชิคุนกุนยา , สถานการณ์โรคไข้เลือดออกและชิคุนกุนยา และการเฝ้าระวังการป้องกันไข้เลือดออกและชิคุนกุนยา

 

20 0

5. เดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน

วันที่ 12 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

แจกแผ่นพับให้แก่คนในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คนในชุมชนได้รับแผ่บพับอย่างทั่วถึง

 

60 0

6. สรุปผลการดำเนินงาน

วันที่ 12 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำเอกสารเพื่อสรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เอกสารสรุปผลการดำเนินโครงการจำนวน 1 เล่ม

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อประชาสัมพันธ์และให้ความรู้คนในชุมชนหน้าค่าย (ซอยโสภณฯ) 2.เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ และพื้นที่เป็นพาหะนำโรคในชุมชน 3.เพี่อลดอัตราผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและชิคุนกุนยา ในชุมชนหน้าค่าย (ซอยโสภณฯ)
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนมีความรู้เพิ่มขึ้น 2.แหล่งเพาะพันธุ์โรคในชุมชนลดลง 3.ผู้ป่วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อประชาสัมพันธ์และให้ความรู้คนในชุมชนหน้าค่าย (ซอยโสภณฯ)        2.เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ และพื้นที่เป็นพาหะนำโรคในชุมชน        3.เพี่อลดอัตราผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและชิคุนกุนยา ในชุมชนหน้าค่าย (ซอยโสภณฯ)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สื่อสารและประชาสัมพันธ์ (2) วัสดุและครุภัณฑ์ (3) ประชุมเตรียมงาน (4) อบรมให้ความรู้ (5) เดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน (6) สรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และชิคุนกุนยา ในชุมชนหน้าค่าย (ซอยโสภณฯ) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7258-2-19

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเตือนใจ สมศักดิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด