กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย


“ โครงการออกวัดรวมใจ ห่างไกลโรคความดันโลหิตสูง ”

ม.6ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายทวีบัวชื่น

ชื่อโครงการ โครงการออกวัดรวมใจ ห่างไกลโรคความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ ม.6ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60/L8404/02/15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 มกราคม 2560 ถึง 18 มกราคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการออกวัดรวมใจ ห่างไกลโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.6ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการออกวัดรวมใจ ห่างไกลโรคความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการออกวัดรวมใจ ห่างไกลโรคความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ม.6ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60/L8404/02/15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 มกราคม 2560 - 18 มกราคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำรงชีวิตของประชาชน ประชาชนมีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว นิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้นจึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบกับการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการมีการเคลื่อนไหวทางร่างกายน้อยลง ขากการออกกำลังกาย เครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัยหาสำคัยทางด้านสาธารณสุข โรคความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาสาธารรสุขที่สำคัญของทุกประเทสทั่วโลกโดยเฉพาะในกลุ่มผุ้สุงอายุ พบว่าทั่วโลกมีจำนวนผุ้ป่วยความดันโลหิตสุงถึง 970 ล้านคน โดยองค์การอนามัยโลกคาดว่าในปี พ.ศ.2568 จะมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นเป็น 1,560 ล้านคน (WHO,2010) สำหรับประเทศไทยโรคความดันโลหิตสุงเป้นโรคเรื้อรังที่มีคนจำนวนมากเป็นโรคนี้โดยร้อยละ 90 - 95 มักไม่ทราบสาเหตุ ส่วนใหญ่เชื่อว่ามี ปัจจัยเสี่ยงจากการละเลยวิถีการดำเนินชีวิตของการมีสุขภาพที่ดี กรรมพันธ์ุ และความเสื่อมของทางร่างกายตามอายุขัยของบุคคล และยังกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงโรค และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร นอกจากนั้นโรคความดันโลหิตสูงเป็น 1 ใน 3 อันดับแรกของโรคที่ตรวจพบ ในแต่ละปี จึงมีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มจำนวนมากขึ้นและยังเป็นโรคที่ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรง ที่อาจเสียชีวิตฉับพลัน ส่งผลกระทบโดยตรงต่อภาวะสุขภาพ คุณภาพชีวิต รวมทั้งการสูญเสียค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาลที่สูงทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และองค์กรต้นสังกัด อันตรายจากภาวะของโรคนี้คือ ผู้ป่วยอาจมีอาการของดรคเพียงเล็กน้อย เช่น มึนศรีษะบริเวณท้ายทอย หรือไม่มีอาการเลยได้นานหลายปี จึงเป็นการยากในการตรวจสอบจนกระทั่งปรากฏร่องรอยที่เป็นอันตรายต่อชีวิตหรือเกิดภาวะแทรกซ้อนต่ออวัยวะสำคัญของร่างกาย ทำให้เกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หัวใจห้องล่างซ้ายโต ไตวายเรื้อรัง หลอดเลือดแดงส่วนปลายผิดปกติ จอประสาทตาเสื่อม (จันทนารณฤทธิวิชัย,2552;ผ่องพรรณ อรุณแสง,2552;วิไลวรรณทองเจริญ,2554) เสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองที่ทำให้เกิดการแตกและอุดตัน 3-5 เท่า (จันทนารณฤทธิวิชัย,2552)ทำให้สูญเสียปีสุขภาวะจากการพิการปีละ 600,000 คน (ร้อยละ 6 ของDALYs) ทำให้เสียชีวิตประมาณปีละ 70,000 ราย (ร้อยละ 18 ) ทำให้เป็นภาระต่อครอบครัวและสังคม (สำนักงานวิจัยเพื่อพัฒนา หลักประกันสุขภาพไทย,2552) มีอัตราการตายของผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง 37.9 ต่อประชากรแสนคน(สำนักงานดรคไม่ติดต่อ,2555) ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม จากผลการสำรวจเบื้องต้น ข้อมูลด้านสุขภาพของประชาชนบ้านออกวัด หมุ่ที่ 6 ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พบว่า ประชาชนมีพฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับการกินอาหารรสจัด จำนวน 188 คน คิดเป็นร้อยละ 45.59 ซึ่งการกินอาหารรสจัดเป็นสาเหตุส่งเสริมที่จะก่อให้เกิดโรคความดันโลหิตสุง และอาจก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนกับผู้ที่มีโรคประจำตัวเป็นความดันโลหิตสูงอยุ่เดิม ซึ่งจากการสำรวจ พบว่าประชานเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 14.28 และพบว่าประชาชนไม่ได้ออกกำลังกาย จำนวน 73 คน คิดเป็นร้อยละ 26.35 ด้วยความตระหนักถึงปัญหาและภัยของภาวะความดันโลหิตสูง นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 4 วิทยาลัยบรมราชชนนีสงขลา โดยความร่วมมือของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าจีน ประชากรหมุ่ที่ 6 บ้านออกวัด ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จึงได้จัดทำโครงการ ออกวัดรวมใจ ห่างไกลดรคความดันโลหิตสุง ปี 2560 เพื่อให้ประชาชนมีความรุ้และตระหนักในการดูแลตนเอง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อการมีสุขภาพดี ลดการเกิดโรคความดันโลหิตสุง และการสุญเสียของประชาชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ปชช.ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูง ในระดับดี
  2. เพื่อให้ปชช.ที่เข้าร่วมโครงการมรความตระหนักในการควบคุมโรคความดันโลหิตสูง หลังเสร็จสิ้นโครงการ 2 สัปดาห์
  3. เพื่อให้ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูง หลังเสรผ้จสิ้นโครงการ 3 สัปดาห์
  4. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมในระดับมาก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ปชช.เข้าร่วมดครงการ มีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูง 2.ปชช.ที่เข้าร่วมโครงการ มีความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูง 3.ปชช.ที่เข้าร่วมดครงการไม่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น และไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูง 4.ประชาชนมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ และสามารถนำสิ่งที่ได้จากโครงการไปเผยแพร่แก่ผู้อื่นและเข้าร่วมโครงการอื่นๆต่อไป


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย

    วันที่ 18 มกราคม 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูงในระดับดีร้อยละ 80 หลังเสร็จสิ้นโครงการบรรลุวัตถุประสงค์คิดเป็นร้อยละ 121.5

     

    50 50

    2. ประชาสัมพันธ์โครงการ

    วันที่ 18 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาสัมพันธ์โครงการ

     

    50 50

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูงในระดับดีขึ้นร้อยละ 97.2 บรรลุเกินเป้าหมายร้อยละ 121.5 2.การตระหนักของประชาชนในการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูงไม่สามารถประเมินได้
    3.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูง ไม่สามารถประเมินได้ 4.ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการในระดับมากขึ้นไปร้อยละ 94.40บรรลุเกินเป้าหมายร้อยละ 118

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ปชช.ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูง ในระดับดี
    ตัวชี้วัด : เพื่อให้ปชช.ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูง ในระดับดีร้อยละ 80 หลังสิ้นสุดโครงการ

     

    2 เพื่อให้ปชช.ที่เข้าร่วมโครงการมรความตระหนักในการควบคุมโรคความดันโลหิตสูง หลังเสร็จสิ้นโครงการ 2 สัปดาห์
    ตัวชี้วัด : เพื่อให้ปชช.ที่เข้าร่วมโครงการมรความตระหนักในการควบคุมโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 80 หลังเสร็จสิ้นโครงการ 2 สัปดาห์

     

    3 เพื่อให้ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูง หลังเสรผ้จสิ้นโครงการ 3 สัปดาห์
    ตัวชี้วัด : เพื่อให้ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 60 หลังเสรผ้จสิ้นโครงการ 3 สัปดาห์

     

    4 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมในระดับมาก
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมในระดับมากร้อยละ 80

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ปชช.ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูง ในระดับดี (2) เพื่อให้ปชช.ที่เข้าร่วมโครงการมรความตระหนักในการควบคุมโรคความดันโลหิตสูง หลังเสร็จสิ้นโครงการ 2 สัปดาห์ (3) เพื่อให้ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูง หลังเสรผ้จสิ้นโครงการ 3 สัปดาห์ (4) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมในระดับมาก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการออกวัดรวมใจ ห่างไกลโรคความดันโลหิตสูง จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60/L8404/02/15

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายทวีบัวชื่น )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด