กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย


“ โครงการลดโรค ลดเสี่ยง หลีกเลี่ยงความดันโลหิตสูง ”

ศาลาโคกร่มเย้น หมู่ที่ 8 ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางวิไล สินแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการลดโรค ลดเสี่ยง หลีกเลี่ยงความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ ศาลาโคกร่มเย้น หมู่ที่ 8 ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L8404-02-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 พฤศจิกายน 2559 ถึง 27 พฤศจิกายน 2559


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดโรค ลดเสี่ยง หลีกเลี่ยงความดันโลหิตสูง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศาลาโคกร่มเย้น หมู่ที่ 8 ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดโรค ลดเสี่ยง หลีกเลี่ยงความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดโรค ลดเสี่ยง หลีกเลี่ยงความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ศาลาโคกร่มเย้น หมู่ที่ 8 ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L8404-02-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 พฤศจิกายน 2559 - 27 พฤศจิกายน 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชน ประชาชนมีการแข่งขันสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัวนิยมวัฒนธรรมตะวันตกมากขึ้น จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเร่งรีบการทำงาน บริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ มีการเคลื่อนไหวทางร่างกายน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย เครียด ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วมและเสียชีวิตก่อนวันอันควรโรคความดดันโลหิตสูงเป็นภาวะโรคไร้เชื้อเรื้อรังที่มีอุบัติการณ์เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยพบเร็วขึ้นในกลุ่มอายุน้อยและพบเพิ่มขึ้นตามอายุที่มากขึ้น (พานทิพย์ แสงประเสริฐ,๒๕๕๔)ปัจจุบันประชากรโลกรวมทั้งประเทศไทยที่ประสบอยู่ โดยคาดการณ์ว่าในปี พ.ศ.๒๕๖๘ จะประสบปัญหาโรคความดันโลหิตสูง ๑.๕ ล้านคน (จดหมายข่าว วช,๒๕๔๙)ซึ่งอัตราตายต่อประชากรแสนคน จากโรคความดันโลหิตสูงเท่ากับ ๓.๙ ส่วนอัตราป่วยในต่อแสนประชากรด้วยโรคความดันโลหิตสูงเท่ากับ ๘๖๐.๕๓ (สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข,๒๕๕๑)อันตรายจากภาวะของโรคนี้คือ ผู้ป่วยอาจมีอาการของโรคเพียงเล็กน้อย เช่น มึนศรีษะท้ายทอย หรือไม่มีอาการเลยได้นานหลายปี จึงเป็นการยากในการตรวจสอบ จนกระทั่งปรากฎร่องรอยที่เป็นอันตรายต่อชีวิตหรือเกิดภาวะแทรกซ้อนต่ออวัยวะสำคัญของร่างกาย และนำไปสู่โรคอันตรายอื่นอีก เช่นโรคของหลอดเลือดสมองโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไต ซึ่งผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด(ปิยะมิตร ศรีธาราและคณะ,๒๕๕๑)เพราะฉะนั้นการตรวจพบโรคความดันโลหิตสูงตั้งแต่เริ่มแรกและได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกต้อง รวมทั้งการมีพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพจะสามารถควบคุมโรคและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคได้ การปรับพฤติกรรมการบริโภคโดยลดอาหารเค็มและไขมันสูง การควบคุมความเครียด พักผ่อนให้เพียงพอ ลดการดื่มแอลกอฮอล์งดบุหรี่ เป็นการช่วยควบคุมระดับความดันโลหิตได้ นอกจากนี้การออกกำลังกายซึ่งเป็นกิจกรรมการออกแรงเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ กระดูก เอ็น ข้อต่อส่วนต่างๆของร่างกายอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานพอจึงจะ เป็นการเสริมสร้างสุขภาพให้แข้งแรงยิ่งขึ้นหรือคงไว้ซึ่งสมรรถภาพของร่างกายและลดระดับความดันโลหิตได้(สุรเกียรติ อาชานุภาพ,๒๕๕๐) จากการสำรวจและเก็บรวบรวมข้อมูลของชุมชนหมู่ที่ ๘ บ้านกลางนา ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ปี ๒๕๕๘ จำแนกตามปัญหาสุขภาพและการเจ็บป่วยพบว่าประชากรดังกล่าวที่มีอายุ ๕๐ ปีขึ้นไปป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงจำนวน ๒๘ คน จาก๑๒๘ คน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ ๙.๑๘ และจากฐานข้อมูลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าจีนพบอัตราอุบัติการณ์ของประชากรหมู่ที่ ๘ บ้านกลางน่าจำแนกตามเรื้อรัง พบว่า ในปี ๒๕๕๘ โดยส่วนใหญ่ประชากรป่วยโ้ดยโรคความดันโลหิตสูงอัตราความชุกเทากับ ๕๒.๗๓ ต่อพันประชากร ซึ่งพบว่าสาเหตุส่วนใหญ่มาจากพฤติกรรมเสี่ยงในการดำเนินชีวิต เช่น การไม่ออกกำลังกาย การรับประทานอาหารรสจัด (หวาน มัน เค็ม) เช่น แกงส้ม ปลาเค็ม การดื่มเหล้า สูบบุหรี่ เป็นต้น จากผลกระทบและสภาพปัญหาและสาเหตุดังกล่าวข้างต้น ชุมชนหมู่ที่ ๘ บ้านกลางนา ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ร่วมกับนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ ๔ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สงขลา ร่วมจัดทำโครงการ ลดโรค ลดเสี่ยง หลีกเลี่ยงความดันโลหิตสูง ขึ้นเพื่อให้ประชาชนมุ่งเน้นการแก้ไขปัญหา ควบคุมระดับความดันโลหิตสูงให้คงที่ปกติ ไม่ส่งผลร้ายจนเกิดภาวะแทรกซ้อน และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันอัตราการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูงของประชาชนในชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ปชช.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูงในระดับดี ร้อย 80 หลังสิ้นสุดโครงการ
  2. เพื่อให้ปชช.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมโครงการ มีความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 70 หลังเสร็จสิ้นโครงการ 2 สัปดาห์
  3. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมในระดับมาก ร้อยละ 80
  4. มีผู้นำออกกำลังกายในหมู่บ้าน 2-3 ท่าน หลังสิ้นสุดโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ปชช.ที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันดรคความดันโลหิตสูง 2.ปชช.ที่เข้าร่วมโครงการ มีความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูง 3.ปชช.มีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ และสามารถนำสิ่งที่ได้จากโครงการไปเผยแพร่แก่ผู้อื่นและเข้าร่วมโครงการอื่นๆต่อไป 4.มีผู้นำออกกำลังกายในหมุ่บ้าน 2-3 ท่าน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง

    วันที่ 27 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 96 บรรลุวัตถุประสงค์ร้อยละ 120 2.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมในระดับดีมากร้อยละ 85.47 บรรลุวัตถุประสงค์ร้อยละ 106.84 3.มีผู้นำออกกำลังกายในหมู่บ้าน จำนวน 2 คน บรรลุวัตถุประสงค์ร้อยละ 100

     

    50 50

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 96 บรรลุวัตถุประสงค์ร้อยละ 120 2.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมในระดับดีมากร้อยละ 85.47 บรรลุวัตถุประสงค์ร้อยละ 106.84 3.มีผู้นำออกกำลังกายในหมู่บ้าน จำนวน 2 คน บรรลุวัตถุประสงค์ร้อยละ 100

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ปชช.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูงในระดับดี ร้อย 80 หลังสิ้นสุดโครงการ
    ตัวชี้วัด : ปชช.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูงในระดับดี ร้อย 80 หลังสิ้นสุดโครงการ

     

    2 เพื่อให้ปชช.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมโครงการ มีความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 70 หลังเสร็จสิ้นโครงการ 2 สัปดาห์
    ตัวชี้วัด : ปชช.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมดครงการ มีความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 70 หลังเสร็จสิ้นโครงการ 2 สัปดาห์

     

    3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมในระดับมาก ร้อยละ 80
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมในระดับมาก ร้อยละ 80

     

    4 มีผู้นำออกกำลังกายในหมู่บ้าน 2-3 ท่าน หลังสิ้นสุดโครงการ
    ตัวชี้วัด : มีผู้นำออกกำลังกายในหมู่บ้าน 2-3 ท่าน หลังสิ้นสุดโครงการ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ปชช.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูงในระดับดี ร้อย 80 หลังสิ้นสุดโครงการ (2) เพื่อให้ปชช.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมโครงการ มีความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 70 หลังเสร็จสิ้นโครงการ 2 สัปดาห์ (3) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมในระดับมาก ร้อยละ 80 (4) มีผู้นำออกกำลังกายในหมู่บ้าน 2-3 ท่าน หลังสิ้นสุดโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการลดโรค ลดเสี่ยง หลีกเลี่ยงความดันโลหิตสูง จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L8404-02-11

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางวิไล สินแก้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด