กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง


“ เฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อในชุมชน ”

ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ประธานชมรม อสม. รพ.สต.บ้านหูแร่

ชื่อโครงการ เฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อในชุมชน

ที่อยู่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3360-2-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"เฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อในชุมชน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " เฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลร่มเมือง อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 62-L3360-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในยุคปัจจุบันเป็นยุคแห่งเทคโนโลยีทำให้การส่งต่อข้อมูล มีความสะดวกและรวดเร็วขึ้น เครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขซึ่งเป็นทรัพยากรบุคคลที่อาศัยอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบระดับครัวเรือน ควรมีความรู้และเข้าใจในเรื่องโรคติดต่อที่เป็นปัญหาของชุมชน เพื่อเป็นที่พี่เลี้ยงเป็นที่ปรึกษา สังเกตเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพของคนในชุมชนสู่ระดับครอบครัว มุ่ง “บอกข่าวร้ายเพื่อเตือนภัยเฝ้าระวังโรคระบาด กระจายข่าวดีต่อชุมชน” ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขจึงควรมีการส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์โรคติดต่อลงสู่ชุมชนอย่างต่อเนื่องเพื่อป้องกัน เฝ้าระวังไม่ให้เกิดการระบาดหรือยกระดับความรุนแรงขึ้น จากข้อมูลงานระบาดวิทยาของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองพัทลุงพบว่าโรคติดต่อที่เป็นปัญหาในพื้นตำบลร่มเมือง 7 ลำดับแรก คือ โรคอุจราระร่วง อัตราป่วยต่อแสนประชากร พบ 1323.09 โรคปอดบวมพบ 256.08 ต่อแสนประชากร โรคตาแดงพบ 213.40 ต่อแสนประชากร โรคไข้เลือดออกพบ 213.40 ต่อแสนประชากร โรคไข้หวัดใหญ่พบ 128.04 ต่อแสนประชากร โรคโรคเลปโตสไปโรซิส 85.36 ต่อแสนประชากร โรคมือเท้าปาก 42.68 ต่อแสนประชาชน เพื่อให้รู้ทันสมารถเฝ้าระวังโรคติดต่อของชุมชนได้ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขจึงเขียนโครงการนี้ขึ้นเพื่อทบทวนความรู้ ความเข้าใจ สร้างเครือข่ายในการรับรู้สถานการณ์โรคติดต่อ มุ่งหวังร่วมกันป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดต่อทั้งตนเองและครอบครัวให้ทุกชุมชนในตำบลร่มเมืองน่าอยู่น่าอาศัยเป็นวัฒนธรรมความห่วงใยที่ส่งต่อให้รุ่นถัดไปสามารถควบคุมสถานการณ์ได้อย่างทันเวลา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้ ความสำคัญของโรคติดต่อที่เป็นปัญหาในชุมชน
  2. เพื่อให้สามารถดูแล ป้องกัน เฝ้าระวังโรคติดต่อที่เป็นปัญหาในชุมชนตนเองได้
  3. เพื่อปลูกฝังความรู้สึก การเป็นผู้ให้ มีจิตอาสา ดูแลคนในชุมชนตนเอง……………...

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.๑ สร้างจุดคัดกรองและแนวทางการคัดกรองในหมู่บ้าน อย่างน้อยหมู่ละ 1 จุด (ศาลาเอนกประสงค์ประจำหมู่บ้าน) 1.2 แนวออกแบบแนวทางการเฝ้าระวัง ป้องกัน โรคติดต่อปัญหาของชุมชน แนวทางการคัดกรองดังนี้ - ซักประวัติ/ อาการ/ วัดความดัน/ วัดไข้ - ให้สุขศึกษา/สื่อ แนวทาง
  2. 2. . ร่วมในการสำรวจและจัดกิจกรรมอบรมส่งเสริมความรู้เรื่องโรคติดต่อของชุมชนแก่กลุ่มป่วยโรคเรื้อรังที่มารับบริการคลินิกอรุณสวัสดิ์ รพ.สต.บ้านหูแร่ จำนวน 6 เดือน
  3. 3. ร่วมในการสำรวจและจัดกิจกรรมอบรมส่งเสริมความรู้เรื่องโรคติดต่อของชุมชนแก่นักเรียนในโรงเรียนวัดโอ่ ร่วมกับชมรมผู้ปกครองคณะกรรมการนักเรียนเจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพในพื้นที่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ความพึงพอใจต่อรูปแบบการคืนข้อมูลโรคติดต่อของหน่วยบริการในพื้นที่
2. ผู้เข้ารับการอบรมหรือติดตามเกิดทักษะ สามารถนำแนวทางในการป้องกันเฝ้าระวังภัยโรคติดต่อตนเองและครอบครัวอย่างง่ายได้ถูกต้อง 3. มีจิตอาสา ในการเฝ้าระวังภัยโรคติดต่อ สามารถลดสถานการณ์โรคได้อย่างทันท่วงที 4. ชุมชนตื่นตัว เป็นการสร้างเครือข่ายให้มีการจัดการตนเองที่ดีขึ้น ในการดูแล ป้องกัน เฝ้าระวังโรคติดต่อโรคติดเชื้อในชุมชน อาทิ อุจจาระร่วง ตาแดง วัณโรค ปอดบวม ไข้เลือดออก ไข้หวัดใหญ่ ๕. เกิดเครือข่ายชมรมสร้างสุขภาพในพื้นที่ มีการขับเคลื่อนสิ่งดีคืนกลับสู่ชุมชนที่อยู่อาศัยและเกิดจากการสร้างของคนในชุมชนโดยแท้จริง อาทิ “การดูแลและจัดการสิ่งแวดล้อม การกำจัดขยะ การเปลี่ยนของเหลือใช้ ไร้ค่า ให้มีค่า มีราคา” เป็นการลดปัญหาโรคภัยจากการจัดการภัยสิ่งแวดล้อมและขยะที่เป็นมลพิษ เป็นต้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.๑ สร้างจุดคัดกรองและแนวทางการคัดกรองในหมู่บ้าน อย่างน้อยหมู่ละ 1 จุด (ศาลาเอนกประสงค์ประจำหมู่บ้าน) 1.2 แนวออกแบบแนวทางการเฝ้าระวัง ป้องกัน โรคติดต่อปัญหาของชุมชน แนวทางการคัดกรองดังนี้ - ซักประวัติ/ อาการ/ วัดความดัน/ วัดไข้ - ให้สุขศึกษา/สื่อ แนวทาง

วันที่ 1 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

-ประชาชนในพื้นที่สามารถดูแลสุขภาพตนเอง เฝ้าระวัง ป้องกันโรคติดต่อที่เป็นปัญหาของชุมชนเบื้องต้นได้ มากกว่า ร้อยละ ๙0…

(วัดข้อมูลพฤติกรรมในการป้องกันโรคติดต่อที่เป็นปัญหาของชุมชน)

ลดอัตราการป่วยและการระบาดในเดือนถัดไปในเขตชุมชน มากกว่าร้อยละ ๙0 -ประชาชนเข้าถึงการคัดกรอง ค้นหาในชุมชนและเข้าถึงการรักษาได้ทันท่วงที ลดการระบาดของโรคในพื้นที่ได้ ร้อยละ ๙๐…………

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-บรรลุตามเป้าของโครงการ -ประชาชนมีส่วนร่วมมากขึ้น

 

550 0

2. 2. . ร่วมในการสำรวจและจัดกิจกรรมอบรมส่งเสริมความรู้เรื่องโรคติดต่อของชุมชนแก่กลุ่มป่วยโรคเรื้อรังที่มารับบริการคลินิกอรุณสวัสดิ์ รพ.สต.บ้านหูแร่ จำนวน 6 เดือน

วันที่ 1 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ลดอัตราการป่วยและการระบาดในเดือนถัดไปในเขตชุมชน มากกว่าร้อยละ ๙0

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ประชาชนมีส่วนร่วม

 

0 0

3. 3. ร่วมในการสำรวจและจัดกิจกรรมอบรมส่งเสริมความรู้เรื่องโรคติดต่อของชุมชนแก่นักเรียนในโรงเรียนวัดโอ่ ร่วมกับชมรมผู้ปกครองคณะกรรมการนักเรียนเจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพในพื้นที่

วันที่ 3 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชาชนเข้าถึงการคัดกรอง ค้นหาในชุมชนและเข้าถึงการรักษาได้ทันท่วงที ลดการระบาดของโรคในพื้นที่ได้ ร้อยละ ๙๐

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ประชาชนมีส่วนร่วมมากขึ้น -บรรลุตามเป้าหมายของโครงการ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้ ความสำคัญของโรคติดต่อที่เป็นปัญหาในชุมชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่สามารถดูแลสุขภาพตนเอง เฝ้าระวัง ป้องกันโรคติดต่อที่เป็นปัญหาของชุมชนเบื้องต้นได้ มากกว่า ร้อยละ ๙0… (วัดข้อมูลพฤติกรรมในการป้องกันโรคติดต่อที่เป็นปัญหาของชุมชน)
0.00

 

2 เพื่อให้สามารถดูแล ป้องกัน เฝ้าระวังโรคติดต่อที่เป็นปัญหาในชุมชนตนเองได้
ตัวชี้วัด : ลดอัตราการป่วยและการระบาดในเดือนถัดไปในเขตชุมชน มากกว่าร้อยละ ๙0
0.00

 

3 เพื่อปลูกฝังความรู้สึก การเป็นผู้ให้ มีจิตอาสา ดูแลคนในชุมชนตนเอง……………...
ตัวชี้วัด : ประชาชนเข้าถึงการคัดกรอง ค้นหาในชุมชนและเข้าถึงการรักษาได้ทันท่วงที ลดการระบาดของโรคในพื้นที่ได้ ร้อยละ ๙๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้ ความสำคัญของโรคติดต่อที่เป็นปัญหาในชุมชน (2) เพื่อให้สามารถดูแล ป้องกัน เฝ้าระวังโรคติดต่อที่เป็นปัญหาในชุมชนตนเองได้ (3) เพื่อปลูกฝังความรู้สึก การเป็นผู้ให้ มีจิตอาสา ดูแลคนในชุมชนตนเอง……………...

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.๑ สร้างจุดคัดกรองและแนวทางการคัดกรองในหมู่บ้าน อย่างน้อยหมู่ละ 1 จุด (ศาลาเอนกประสงค์ประจำหมู่บ้าน)  1.2 แนวออกแบบแนวทางการเฝ้าระวัง ป้องกัน โรคติดต่อปัญหาของชุมชน  แนวทางการคัดกรองดังนี้ - ซักประวัติ/ อาการ/ วัดความดัน/ วัดไข้ - ให้สุขศึกษา/สื่อ แนวทาง (2) 2. . ร่วมในการสำรวจและจัดกิจกรรมอบรมส่งเสริมความรู้เรื่องโรคติดต่อของชุมชนแก่กลุ่มป่วยโรคเรื้อรังที่มารับบริการคลินิกอรุณสวัสดิ์ รพ.สต.บ้านหูแร่ จำนวน 6 เดือน (3) 3. ร่วมในการสำรวจและจัดกิจกรรมอบรมส่งเสริมความรู้เรื่องโรคติดต่อของชุมชนแก่นักเรียนในโรงเรียนวัดโอ่ ร่วมกับชมรมผู้ปกครองคณะกรรมการนักเรียนเจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพในพื้นที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อในชุมชน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3360-2-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ประธานชมรม อสม. รพ.สต.บ้านหูแร่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด