กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต


“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 5 ปี ”

ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางดารุณี มากแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 5 ปี

ที่อยู่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3321-1-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 31 กรกฎาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 5 ปี จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 5 ปี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 5 ปี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 62-L3321-1-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2562 - 31 กรกฎาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 2,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและเป็นอนาคตที่สำคัญต่อการพัฒนาประเทศ เด็กที่มีคุณภาพ คือ เด็กที่มีการเจริญเติบโตปกติ พัฒนาการสมบูรณ์ทุกด้านตามวัย และการเฝ้าระวังพัฒนาการ มีความสำคัญอย่างยิ่ง เพื่อค้นหาปัญหาและส่งเสริมแก้ไขตั้งแต่ในระยะแรก อันจะมีผลให้เด็กได้รับการส่งเสริมพัฒนาการอย่างถูกต้อง เหมาะสม จากพ่อแม่ ครอบครัว และบุคคลที่เกี่ยวข้อง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี มีการตรวจพัฒนาการเด็กในปี 2561 พบว่าเด็กที่ได้รับการตรวจพัฒนาการ 5 ช่วงวัยคือ9 เดือน18 เดือน 30 เดือน 42เดือน และ 60 เดือนทั้งหมด 183 คน ผลการคัดกรอง พัฒนาการปกติ 115 คน คิดเป็น ร้อยละ63.89 พัฒนาการล่าช้า 65 คน คิดร้อยละ 36.11คน ซึ่งในตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุขเด็กต้องมีพัฒนาการล่าช้า ร้อยละ 30 ผลการประเมินพัฒนาการของเด็กในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต มีผลพัฒนาการล่าช้า ได้ตามเป้าหมายที่กำหนด แต่เนื่องจากวัสดุอุปกรณ์ ที่ใช้ในการคัดกรองพัฒนาการเด็ก มีสภาพที่เก่าและชำรุดในบางชิ้น อาจจะส่งผลเสียหรือขาดประสิทธิภาพในการคัดกรองโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแตเห็นว่าอาจจะส่งผลการตรวจพัฒนาการเด็กให้การตรวจมีความคลาดเคลื่อน จากปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อ พัฒนาระบบการประเมินพัฒนาการเด็กให้ได้มาตรฐานเพิ่มขึ้น คาดว่าการตรวจพัฒนาการเด็กหลังจากได้มีการพัฒนาไปแล้ว จะสามารถปฏิบัติงานได้รวดเร็วแม่นยำ และมีประสิทธิภาพที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็ก 5 ช่วงวัยคือ 9 เดือน 18 เดือน 30 เดือน 42 เดือน และ 60 เดือน ได้รับการประเมินพัฒนาการ และมีการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย ทุกราย เป้าหมาย ร้อยละ 100

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรรมตรวจและคัดกรองพัฒนาการเด็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลงานผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรรมตรวจและคัดกรองพัฒนาการเด็ก

วันที่ 1 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจและคัดกรองพัฒนาการเด็ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด็ก 5 ช่วงวัยคือ  9 เดือน  18 เดือน  30 เดือน 42 เดือน และ 60 เดือน    ในช่วงเดือน พฤษภาค – เดือนกรกฎาคม ปีงบประมาณ 2562 ได้รับการประเมินพัฒนาการ และมีการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย ทุกราย เป้าหมาย ร้อยละ 100
    1.2 เด็ก 5 ช่วงวัยคือ 9 เดือน 18 เดือน  30 เดือน 42 เดือน  และ 60 เดือน ในช่วงเดือน พฤษภาคม –เดือนกรกฎาคม  ปีงบประมาณ 2562 ที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัยและได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติ ให้ได้ตามเป้าหมายร้อยละ 100

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงาน 1. เด็ก 5 ช่วงวัยคือ 9 เดือน 18 เดือน 30 เดือน 42 เดือน และ 60 เดือน  ในช่วงเดือน พฤษภาค – เดือนกรกฎาคม ปีงบประมาณ 2562 ได้รับการประเมินพัฒนาการ และมีการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย ทุกราย เป้าหมาย ร้อยละ 100
1.2 เด็ก 5 ช่วงวัยคือ 9 เดือน 18 เดือน 30 เดือน 42 เดือน และ 60 เดือน ในช่วงเดือน พฤษภาคม –เดือนกรกฎาคม  ปีงบประมาณ 2562 ที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัยและได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติ ให้ได้ตามเป้าหมายร้อยละ 100 2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ 3. ระยะเวลาดำเนินการ เดือน พฤษภาคม 2562 – เดือนกรกฎาคม 2562 4. สถานที่ดำเนินการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง 5. การเบิกจ่ายงบประมาณ เงินบำรุงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต ซึ่งได้รับสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปันแต จำนวน 2,800 บาท (สองพันแปดร้อยบาทถ้วน) เป็นค่าใช้จ่ายดังนี้ รายละเอียดค่าใช้จ่ายดังนี้ 5.1 กิจกรรรมตรวจและคัดกรองพัฒนาการเด็ก 8.1.1 ชุดอุปกรณ์ประเมินพัฒนาการเด็ก ช่วงอายุ 0-5 ปี ด้วย PSDM 116 ข้อ แบบกระเป๋าถุงผ้า จำนวน 1 ชุด x 2,800 บาท เป็นเงิน 2,800 บาท งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 2,800 บาท (สองพันแปดร้อยบาทถ้วน) งบประมาณเบิกจ่ายจริง 2,800 บาท (สองพันแปดร้อยบาทถ้วน) คิดเป็นร้อยละ 100 งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ - บาท คิดเป็นร้อยละ - 6. ผลที่ได้รับ 6.1. เด็ก 5 ช่วงวัยคือ 9 เดือน 18 เดือน 30 เดือน  42 เดือน และ 60 เดือน ในช่วงเดือน พฤษภาคม – เดือนกรกฎาคม ปีงบประมาณ 2562 ได้รับการประเมินพัฒนาการ และมีการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย ทุกราย เป้าหมาย ร้อยละ 100
6.2 เด็ก 5 ช่วงวัยคือ 9 เดือน 18 เดือน 30 เดือน 42 เดือน และ 60 เดือน ในช่วงเดือน พฤษภาคม – เดือนกรกฎาคม  ปีงบประมาณ 2562 ที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัยและได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติ ให้ได้ตามเป้าหมายร้อยละ 100 7. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน เด็กบางคนไม่สามารถมาตามที่เจ้าหน้าที่นัดได้ แนวทางแก้ไข(ระบุ)   เจ้าหน้าที่ลงตรวจพัฒนาการที่บ้าน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็ก 5 ช่วงวัยคือ 9 เดือน 18 เดือน 30 เดือน 42 เดือน และ 60 เดือน ได้รับการประเมินพัฒนาการ และมีการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย ทุกราย เป้าหมาย ร้อยละ 100
ตัวชี้วัด : เด็ก 5 ช่วงวัยคือ 9 เดือน 18 เดือน 30 เดือน 42 เดือน และ 60 เดือน ได้รับการประเมินพัฒนาการ และมีการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย ทุกราย เป้าหมาย ร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็ก 5 ช่วงวัยคือ  9 เดือน  18 เดือน  30 เดือน  42 เดือน  และ 60 เดือน  ได้รับการประเมินพัฒนาการ และมีการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย ทุกราย เป้าหมาย ร้อยละ 100

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรรมตรวจและคัดกรองพัฒนาการเด็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 5 ปี จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3321-1-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดารุณี มากแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด