ฝากครรภ์คุณภาพตามเกณฑ์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ฝากครรภ์คุณภาพตามเกณฑ์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาตูม
หัวหน้าโครงการ
นางเจ๊ะมัยซันเต๊ะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ ฝากครรภ์คุณภาพตามเกณฑ์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่
ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาตูม จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3027-01-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"ฝากครรภ์คุณภาพตามเกณฑ์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาตูม
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ฝากครรภ์คุณภาพตามเกณฑ์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่
บทคัดย่อ
โครงการ " ฝากครรภ์คุณภาพตามเกณฑ์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาตูม รหัสโครงการ 60-L3027-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 109,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบัน พบปัญหาอัตราการเกิดและการมีชีวิตอยู่รอดของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ระดับประเทศตั้งเป้าหมายไม่เกินร้อยละ 5 แต่พบว่าในพื้นที่จังหวัดชายแดนอยู่ที่ ร้อยละ 15 พบว่ามีค่าที่เกิดอยู่ 3 เท่า ขณะที่องค์การอนามัยโลกกำหนดอยู่ที่ ร้อยละ 2.5 นับเป็นจุดตั้งต้นที่สำคัญของการทำงานด้านสาธารณสุข ดังนั้นงานอนามัยของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ จึงเป็นตัวบ่งชี้สภาวะสุขภาพที่มักถูกหยิบยกขึ้นเป็นตัวสะท้อนการพัฒนาด้านสุขภาพของประเทศอยู่เสมอ เพราะส่วนหนึ่งการเสียชีวิตของแม่ที่คลอดบุตรเป็นตัวบ่งบอกความเป็นอยู่ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ รวมถึงความเพียงพอของสถานบริการด้านสุขภาพด้วย
สถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็กในเขตพื้นที่ภาคใต้ปี 2559 โดยเฉพาะใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ยังมีความน่าเป็นห่วงเข้าขั้นวิกฤตอยู่มาก เหตุเพราะอัตราส่วนการตายของมารดายังเป็นปัญหาสาธารณสุขในระดับพื้นที่มาอย่างต่อเนื่อง โดยพบสูงสุดใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส คิดเป็นร้อยละ 82.81, 67.43 และ 63.93 ต่อแสนคนในการเกิดมีชีวิต ตามลำดับ (เกณฑ์มาตรฐาน ไม่ควรเกิน ร้อยละ 5 ต่อแสนคนในการเกิดมีชีวิต)
นอกจากนี้ ยังพบว่า มารดาขาดสารอาหาร และมีภาวะซีดในขณะตั้งครรภ์ โดยในปี 2556 ภาพรวมของประเทศ พบว่า มารดาที่มีภาวะโลหิตจางในขณะตั้งครรภ์ คิดเป็นร้อยละ 17.1 โดยพบสูงสุดที่จังหวัดปัตตานี ร้อยละ 98.4รองลงมาได้แก่ นราธิวาส 17.2และยะลา 16.1 ตามลำดับ (เป้าหมายที่กำหนด ไม่ควรเกินร้อยละ 10) ส่งผลต่อทารกแรกคลอด อาจทำให้เกิดการคลอดก่อนกำหนดและคลอดมาแล้วน้ำหนักน้อย
ส่วนสถานการณ์ทารกแรกคลอดในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ พบว่า ยังมีทารกจำนวนมากที่มีน้ำหนักแรกคลอดต่ำกว่าเกณฑ์ปกติอย่างมาก (เกณฑ์น้ำหนักแรกคลอดต้องไม่ต่ำกว่า 2,500 กรัม) ซึ่งภาพรวมของประเทศ ทารกแรกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม อยู่ที่ร้อยละ 7.8 โดยอัตราสูงสุดอยู่ที่จังหวัดยะลา ร้อยละ 9.5 รองลงมาได้แก่ นราธิวาส 7.4 และปัตตานี 6.7 ทั้งนี้สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่เกิดจากสาเหตุที่สามารถป้องกันได้ในบริบทของสูติศาสตร์สมัยใหม่ และมีเพียงน้อยรายที่เกิดจากเหตุสุดวิสัย
จากสถานการณ์สถิติที่น่าเป็นห่วง สะท้อนถึงปัญหางานอนามัยแม่และเด็กใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ควรได้รับการแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน ถึงแม้ว่าตำบลเขาตูมยังไม่พบอัตราการตายของมารดาและทารก แต่ก็มีปัจจัยเสี่ยงที่อาจส่งผลถึงความปลอดภัยของอนามัยแม่และได้ ซึ่งรพ.สต.ในพื้นที่ตำบลเขาตูมมี 2 รพ.สต.คือ รพ.สต.เขาตูม มีพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด 4 หมู่บ้าน และ รพ.สต.บ้านจาเราะบองอ รับผิดชอบ 3 หมู่บ้าน จากการวิเคราะห์ของผลงานความครอบคลุมของงานอนามัยแม่และเด็กพบว่า ปัญหาอนามัยแม่และเด็ก นับเป็นปัญหาที่สำคัญยิ่งของตำบลเขาตูม มีผลงานต่ำกว่าเกณฑ์หลายตัวชี้วัด พบว่า อัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ รพ.สต.เขาตูมร้อยละ 62.64รพ.สต.บ้านจาเราะบองอ ร้อยละ 66.67 จากเกณฑ์ร้อยละ 75 และของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์รพ.สต.เขาตูมร้อยละ 83.06รพ.สต.จาเราะบองอ ร้อยละ 92.65 จากเกณฑ์ร้อยละ 95 หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีด รพ.สต.เขาตูมร้อยละ 8.79รพ.สต.บ้านจาเราะบองอ ร้อยละ 11.90 จากเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ10จึงเป็นที่มาของ โครงการฝากครรภ์คุณภาพตามเกณฑ์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานีปี 2560
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มอัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่
- เพื่อเพิ่มอัตราการได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่
- เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะซีดของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่
- เพื่อให้ผู้สำเร็จการอบรมที่มีความรู้เพิ่มขึ้นกับแม่หรือหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และสามีโดยโรงเรียนพ่อ แม่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
240
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงมีครรภ์รายใหม่ ในเขตพื้นที่ตำบลเขาตูม ได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 75
- หญิงมีครรภ์รายใหม่ ในเขตพื้นที่ตำบลเขาตูม ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 95
- หญิงมีครรภ์รายใหม่ ในเขตพื้นที่ตำบลเขาตูม มีอัตราภาวะซีดลดลง ไม่เกินร้อยละ 10
- ผู้อบรมของกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และสามีมีทั้งความรู้และประสบการณ์เพิ่มขึ้นตลอดไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
หญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์เกินเป้าหมายที่ตั้งไว้ การเข้าถึงการบริการสาธารณสุขครอบคลุมและได้รับความรู้สำหรับการปฏิบัติตัวต่อไปครบถ้วน แต่ด้วยตัวชีวัดที่ 2 และ 3 เป็นตัวชี้วัดที่วัดพฤติกรรมและความตระหนักของบุคคล ผลการดำเนินงานไม่ผ่านตัวชี้วัด รพ.สต.จะค้นหาสาเหตุที่ชัดเจน และหาแนวทางต่อไป
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มอัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 75 ของกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ได้รับการดูแลก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
2
เพื่อเพิ่มอัตราการได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของกลุ่มเป้าหมายของกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์
3
เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะซีดของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่
ตัวชี้วัด : ไม่เกินร้อยละ 10 กับอัตราการเกิดภาวะซีดของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ดังนี้
1) ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเสริมธาตุเหล็ก
2) ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์และสามีเข้าร่วมกิจกรรม โรงเรียนพ่อ แม่
3) ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการเจาะ LAB 2 ครั้งตลอดระยะเวลาการตั้งครรภ์ ร้อยละ 100
4) ร้อยละ 10 ของกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์มีอัตราการลดลงของภาวะซีด
4
เพื่อให้ผู้สำเร็จการอบรมที่มีความรู้เพิ่มขึ้นกับแม่หรือหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และสามีโดยโรงเรียนพ่อ แม่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้อบรมของกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และสามี มีทั้งความรู้และประสบการณ์เพิ่มขึ้นตลอดไป
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
240
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
240
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มอัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ (2) เพื่อเพิ่มอัตราการได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ (3) เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะซีดของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ (4) เพื่อให้ผู้สำเร็จการอบรมที่มีความรู้เพิ่มขึ้นกับแม่หรือหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และสามีโดยโรงเรียนพ่อ แม่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ฝากครรภ์คุณภาพตามเกณฑ์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3027-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางเจ๊ะมัยซันเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ฝากครรภ์คุณภาพตามเกณฑ์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาตูม
หัวหน้าโครงการ
นางเจ๊ะมัยซันเต๊ะ
กันยายน 2560
ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาตูม จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3027-01-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"ฝากครรภ์คุณภาพตามเกณฑ์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาตูม
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ฝากครรภ์คุณภาพตามเกณฑ์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่
บทคัดย่อ
โครงการ " ฝากครรภ์คุณภาพตามเกณฑ์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาตูม รหัสโครงการ 60-L3027-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 109,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบัน พบปัญหาอัตราการเกิดและการมีชีวิตอยู่รอดของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ระดับประเทศตั้งเป้าหมายไม่เกินร้อยละ 5 แต่พบว่าในพื้นที่จังหวัดชายแดนอยู่ที่ ร้อยละ 15 พบว่ามีค่าที่เกิดอยู่ 3 เท่า ขณะที่องค์การอนามัยโลกกำหนดอยู่ที่ ร้อยละ 2.5 นับเป็นจุดตั้งต้นที่สำคัญของการทำงานด้านสาธารณสุข ดังนั้นงานอนามัยของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ จึงเป็นตัวบ่งชี้สภาวะสุขภาพที่มักถูกหยิบยกขึ้นเป็นตัวสะท้อนการพัฒนาด้านสุขภาพของประเทศอยู่เสมอ เพราะส่วนหนึ่งการเสียชีวิตของแม่ที่คลอดบุตรเป็นตัวบ่งบอกความเป็นอยู่ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ รวมถึงความเพียงพอของสถานบริการด้านสุขภาพด้วย
สถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็กในเขตพื้นที่ภาคใต้ปี 2559 โดยเฉพาะใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ยังมีความน่าเป็นห่วงเข้าขั้นวิกฤตอยู่มาก เหตุเพราะอัตราส่วนการตายของมารดายังเป็นปัญหาสาธารณสุขในระดับพื้นที่มาอย่างต่อเนื่อง โดยพบสูงสุดใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส คิดเป็นร้อยละ 82.81, 67.43 และ 63.93 ต่อแสนคนในการเกิดมีชีวิต ตามลำดับ (เกณฑ์มาตรฐาน ไม่ควรเกิน ร้อยละ 5 ต่อแสนคนในการเกิดมีชีวิต)
นอกจากนี้ ยังพบว่า มารดาขาดสารอาหาร และมีภาวะซีดในขณะตั้งครรภ์ โดยในปี 2556 ภาพรวมของประเทศ พบว่า มารดาที่มีภาวะโลหิตจางในขณะตั้งครรภ์ คิดเป็นร้อยละ 17.1 โดยพบสูงสุดที่จังหวัดปัตตานี ร้อยละ 98.4รองลงมาได้แก่ นราธิวาส 17.2และยะลา 16.1 ตามลำดับ (เป้าหมายที่กำหนด ไม่ควรเกินร้อยละ 10) ส่งผลต่อทารกแรกคลอด อาจทำให้เกิดการคลอดก่อนกำหนดและคลอดมาแล้วน้ำหนักน้อย
ส่วนสถานการณ์ทารกแรกคลอดในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ พบว่า ยังมีทารกจำนวนมากที่มีน้ำหนักแรกคลอดต่ำกว่าเกณฑ์ปกติอย่างมาก (เกณฑ์น้ำหนักแรกคลอดต้องไม่ต่ำกว่า 2,500 กรัม) ซึ่งภาพรวมของประเทศ ทารกแรกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม อยู่ที่ร้อยละ 7.8 โดยอัตราสูงสุดอยู่ที่จังหวัดยะลา ร้อยละ 9.5 รองลงมาได้แก่ นราธิวาส 7.4 และปัตตานี 6.7 ทั้งนี้สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่เกิดจากสาเหตุที่สามารถป้องกันได้ในบริบทของสูติศาสตร์สมัยใหม่ และมีเพียงน้อยรายที่เกิดจากเหตุสุดวิสัย
จากสถานการณ์สถิติที่น่าเป็นห่วง สะท้อนถึงปัญหางานอนามัยแม่และเด็กใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ควรได้รับการแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน ถึงแม้ว่าตำบลเขาตูมยังไม่พบอัตราการตายของมารดาและทารก แต่ก็มีปัจจัยเสี่ยงที่อาจส่งผลถึงความปลอดภัยของอนามัยแม่และได้ ซึ่งรพ.สต.ในพื้นที่ตำบลเขาตูมมี 2 รพ.สต.คือ รพ.สต.เขาตูม มีพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด 4 หมู่บ้าน และ รพ.สต.บ้านจาเราะบองอ รับผิดชอบ 3 หมู่บ้าน จากการวิเคราะห์ของผลงานความครอบคลุมของงานอนามัยแม่และเด็กพบว่า ปัญหาอนามัยแม่และเด็ก นับเป็นปัญหาที่สำคัญยิ่งของตำบลเขาตูม มีผลงานต่ำกว่าเกณฑ์หลายตัวชี้วัด พบว่า อัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ รพ.สต.เขาตูมร้อยละ 62.64รพ.สต.บ้านจาเราะบองอ ร้อยละ 66.67 จากเกณฑ์ร้อยละ 75 และของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์รพ.สต.เขาตูมร้อยละ 83.06รพ.สต.จาเราะบองอ ร้อยละ 92.65 จากเกณฑ์ร้อยละ 95 หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีด รพ.สต.เขาตูมร้อยละ 8.79รพ.สต.บ้านจาเราะบองอ ร้อยละ 11.90 จากเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ10จึงเป็นที่มาของ โครงการฝากครรภ์คุณภาพตามเกณฑ์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานีปี 2560
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มอัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่
- เพื่อเพิ่มอัตราการได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่
- เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะซีดของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่
- เพื่อให้ผู้สำเร็จการอบรมที่มีความรู้เพิ่มขึ้นกับแม่หรือหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และสามีโดยโรงเรียนพ่อ แม่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 240 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงมีครรภ์รายใหม่ ในเขตพื้นที่ตำบลเขาตูม ได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 75
- หญิงมีครรภ์รายใหม่ ในเขตพื้นที่ตำบลเขาตูม ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 95
- หญิงมีครรภ์รายใหม่ ในเขตพื้นที่ตำบลเขาตูม มีอัตราภาวะซีดลดลง ไม่เกินร้อยละ 10
- ผู้อบรมของกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และสามีมีทั้งความรู้และประสบการณ์เพิ่มขึ้นตลอดไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
หญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์เกินเป้าหมายที่ตั้งไว้ การเข้าถึงการบริการสาธารณสุขครอบคลุมและได้รับความรู้สำหรับการปฏิบัติตัวต่อไปครบถ้วน แต่ด้วยตัวชีวัดที่ 2 และ 3 เป็นตัวชี้วัดที่วัดพฤติกรรมและความตระหนักของบุคคล ผลการดำเนินงานไม่ผ่านตัวชี้วัด รพ.สต.จะค้นหาสาเหตุที่ชัดเจน และหาแนวทางต่อไป
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มอัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 75 ของกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ได้รับการดูแลก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ |
|
|||
2 | เพื่อเพิ่มอัตราการได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของกลุ่มเป้าหมายของกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ |
|
|||
3 | เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะซีดของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ตัวชี้วัด : ไม่เกินร้อยละ 10 กับอัตราการเกิดภาวะซีดของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ดังนี้ 1) ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเสริมธาตุเหล็ก 2) ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์และสามีเข้าร่วมกิจกรรม โรงเรียนพ่อ แม่ 3) ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการเจาะ LAB 2 ครั้งตลอดระยะเวลาการตั้งครรภ์ ร้อยละ 100 4) ร้อยละ 10 ของกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์มีอัตราการลดลงของภาวะซีด |
|
|||
4 | เพื่อให้ผู้สำเร็จการอบรมที่มีความรู้เพิ่มขึ้นกับแม่หรือหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และสามีโดยโรงเรียนพ่อ แม่ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้อบรมของกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และสามี มีทั้งความรู้และประสบการณ์เพิ่มขึ้นตลอดไป |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 240 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 240 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มอัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ (2) เพื่อเพิ่มอัตราการได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ (3) เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะซีดของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ (4) เพื่อให้ผู้สำเร็จการอบรมที่มีความรู้เพิ่มขึ้นกับแม่หรือหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และสามีโดยโรงเรียนพ่อ แม่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ฝากครรภ์คุณภาพตามเกณฑ์ของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3027-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางเจ๊ะมัยซันเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......