กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต


“ โครงการ การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน ปี 2562 ”

ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์

ชื่อโครงการ โครงการ การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2482-1-5 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน ปี 2562 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2482-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พฤติกรรมการบริโภคอาหารของคนในปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ผู้บริโภคส่วนใหญ่จะบริโภคอาหารตามสะดวกที่หาง่าย เน้นความอร่อย หวาน มัน ทอดเป็นหลัก เน้นอาหารที่สามารถซื้อได้สะดวกทั่วไป ไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าของอาหารที่บริโภค ว่ามีประโยชน์หรือไม่ หรือให้โทษอย่างไรแก่ร่างกาย การดำเนินการแก้ไขปัญหาด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคมุ่งเน้นในกลุ่มผู้สูงอายุ ผู้ป่วยด้วยโรคเรื่อรังเป็นหลัก น้อยมากที่จะจัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพแก่กลุ่มเยาวชน   งานคุ้มครองผู้บริโภคของ รพ.สต.บ้านโคกมือบา ได้ให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพด้านการบริโภคอาหารเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเยาวชน เพื่อป้องกันหลีกเลี่ยง ภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังที่เกิดจากการบริโภคอาหาร โดยมุ่งเน้นเด็กโรงเรียนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ซึ่งเป็นผู้ที่กระตือรือร้นในการทำกิจกรรมที่สร้างสรรค์ และเป็นผู้ที่มีศักยภาพในตัวเอง สามารถชี้นำเพื่อนและผู้ปกครองให้สนับสนุนการดำเนินงานที่ดีอย่างได้ผล โดย เป้าหมาย คือ นักเรียนบ้านปะลุกา และโรงเรียนบ้านโคกมือบามิตรภาพที่ 223 ซึ่งเป็นโครงการที่เน้นการสร้างเครือข่ายชมรมคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน (อย.น้อย) พัฒนาศักยภาพแกนนำนักเรียน ให้มีการรับรู้สิทธิผู้บริโภคและพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสม และมีการเฝ้าระวังอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพทั้งในโรงเรียนและชุมชน   ทางรพ.สต. บ้านโคกมือบา เล็งเห็นว่าการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่างๆของของคนหากเริ่มได้ตั้งแต่วัยเด็ก จะส่งผลถึงภาวะสุขภาพในระยะยาว เพราะโรคเรื้อรังหลายๆโรค เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้อง สะสมมาเป็นระยะเวลายาวนานหลายปี จึงส่งผลให้ป่วยด้วยโรคต่างๆเมื่ออายุเยอะขึ้น รพ.สต.บ้านโคกมือบา จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้นักเรียนมีแนวทางในการปรับพฤติกรรมเพื่อให้มีสุขภาพดีลดภาวะเสี่ยงของการเกิดโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องอาหารแก่นักเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้อง
  2. นักเรียนมีความรู้ในการปรับพฤติกรรมด้านการบริโภคอาหารเพื่อการมีสุขภาพดี
  3. นักเรียนผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้ไปแนะนำผู้อื่นต่อไป

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมให้ความรู้เรื่องอาหารแก่นักเรียน

วันที่ 18 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • ชี้แจงกิจกรรม ความสำคัญงานคุ้มครองผู้บริโภค
  • ให้ความรู้เรื่อง อาหารปลอดภัย และการเลือกซื้ออาหารสด
  • กิจกรรมกลุ่ม การเลือกซื้ออาหารสำเร็จรูปและอาหารปรุงสำเร็จ
  • สาธิตและฝึกปฏิบัติการตรวจสุขภาพนักเรียนด้วยตนเอง
  • ให้ความรู้เรื่อง อาหารขยะ อาหารอันตราย
  • ตอบข้อซักถาม สรุปกิจกรรม และปิดการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และปีที่ 6 โรงเรียนบ้านปะลุกา และโรงเรียนบ้านโคกมือบามิตรภาพที่ 223 ได้รับความรู้ในเรื่องการเลือกบริโภคอาหารที่เหมาะสม และมีประโยชน์
  2. นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และปีที่ 6 โรงเรียนบ้านปะลุกาและโรงเรียนบ้านโคกมือบามิตรภาพที่ 223 สามารถตอบคำถามได้ถูกต้อง และสามารถแนะนำน้องๆได้
  3. ผู้ประกอบอาหาร และครูอนามัยโรงเรียนบ้านปะลุกา และโรงเรียนบ้านโคกมือบามิตรภาพที่ 223 สามารถเลือกวัตถุดิบในการประกอบอาหารให้กับนักเรียนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม คิดเป็นร้อยละ 100

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และปีที่ 6 โรงเรียนบ้านปะลุกา และโรงเรียนบ้านโคกมือบามิตรภาพที่ 223 ได้รับความรู้ในเรื่องการเลือกบริโภคอาหารที่เหมาะสม และมีประโยชน์
  2. นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และปีที่ 6 โรงเรียนบ้านปะลุกาและโรงเรียนบ้านโคกมือบามิตรภาพที่ 223 สามารถตอบคำถามได้ถูกต้อง และสามารถแนะนำน้องๆได้
  3. ผู้ประกอบอาหาร และครูอนามัยโรงเรียนบ้านปะลุกา และโรงเรียนบ้านโคกมือบามิตรภาพที่ 223 สามารถเลือกวัตถุดิบในการประกอบอาหารให้กับนักเรียนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม คิดเป็นร้อยละ 100

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : นักเรียนสามารถตอบคำถามได้อย่างถูกต้อง
80.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนมีแนวทางในการปรับพฤติกรรมเพื่อให้มีสุขภาพดีลดภาวะเสี่ยงของการเกิดโรค
ตัวชี้วัด : นักเรียนสามารถบอกพฤติกรรมสุขภาพที่ดีจากการบริโภคอาหาร
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้นักเรียนมีแนวทางในการปรับพฤติกรรมเพื่อให้มีสุขภาพดีลดภาวะเสี่ยงของการเกิดโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้เรื่องอาหารแก่นักเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน ปี 2562 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2482-1-5

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด