กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต


“ โครงการปันยิ้มสร้างสุขผู้สูงวัย ห่างไกลโรคสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า ปี 2562 ”

ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์

ชื่อโครงการ โครงการปันยิ้มสร้างสุขผู้สูงวัย ห่างไกลโรคสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2482-1-7 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปันยิ้มสร้างสุขผู้สูงวัย ห่างไกลโรคสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า ปี 2562 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปันยิ้มสร้างสุขผู้สูงวัย ห่างไกลโรคสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มป่วย (2) กิจกรรมตรวจสุขภาพเบื้องต้น (3)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผลจากความก้าวหน้าทางการแพทย์และสาธารณสุข ทำให้ผู้สูงอายุมีอายุยืนมากกว่าหลายๆปีที่ผ่านมา พร้อมๆกับการเปลี่ยนแปลงด้านสังคม สิ่งแวดล้อม ซึ่งทำให้วิถีชีวิต และการดำรงชีวิตของผู้สูงอายุเปลี่ยนไปด้วยเช่นกัน ส่งผลให้การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุเปลี่ยนไป เริ่มตั้งแต่การบริโภคอาหาร ที่ไม่เหมาะสม มาตั้งวัยรุ่น วัยทำงาน การขาดการออกกำลังกาย ทำให้ กลายเป็นผู้สูงอายุที่อายุยืน แต่มีภาวะของโรคประจำตัว ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคกระดูกพรุน ข้อเข่า โรคหลอดเลือดสมอง และโรคสมองเสื่อม  ฯลฯ จากการเก็บข้อมูลสถิติ การเกิด และการตายของประชากรหมู่ 2 บ้านบอฆอ (เขตบ้านบอฆอ) พบว่าอัตราการเกิดและการเสียชีวิตมีน้อย ดังนั่นจึงสามารถคาดคะเนได้ว่า ประชากรในกลุ่มของผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั้งด้านปริมาณและสัดส่วนต่อประชากร ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุจึงมีความจำเป็น เนื่องจากผู้สูงอายุในพื้นที่กลับมีปัญหาด้านสุขภาพมากขึ้น ทั้งทางด้านร่างกาย และสุขภาพทางด้านจิตใจ ที่มีผลสืบเนื่องมาจากสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป และจากสถานการณ์ความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนใต้ ส่งผลผู้สูงอายุในพื้นที่ เป็นผู้สูงอายุ ที่ติดบ้านเป็นจำนวนมาก ดังนั้นผู้สูงอายุบ้านบอฆอ จึงจำเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุคคลรอบข้างและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ก่อนปัญหาด้านสุขภาพจะมีมากกว่านี้ ถ้าครอบครัวให้ความสำคัญและเล็งเห็นความสำคัญของผู้สูงอายุด้วยแล้วครอบครัวและสังคมไทยจะมีความสุข และทุกคนมีสุขภาพจิตที่ดีส่งผลให้ร่างกายดีตามมาเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและส่งเสริมสถาบันครอบครัว รพ.สต.บ้านโคกมือบา ให้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเน้นการดำเนินการด้านสาธารณสุขเชิงรุกให้ทั่วถึงและครอบคลุมทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การฟื้นฟูสภาพ และการพัฒนาการบริการสาธารณสุข โดยเน้นการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ การที่ผู้สูงอายุได้ทำกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่องส่งผลให้ผู้สูงอายมีสุขภาพกาย ใจ ที่ดีขึ้นคลายความรู้สึกหดหู่ และรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่าต่อชุมชน ผู้สูงอายุสามารถดูแลตัวเองได้โดยไม่เป็นภาระแก่ลูกหลาน เพื่อให้ผู้สูงอายุบ้าน บอฆอ สามารถดำรงชีวิตอยู่กับครอบครัวและบุตรหลานอย่างปกติสุขและมีสุขภาพสมบูรณ์ตามควรแก่วัย รพ.สต.บ้านโคกมือบา จึงได้จัดทำ โครงการนี้ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจ
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลตัวเองได้โดยไม่เป็นภาระแก่ลูกหลานตามสมควร
  3. เพื่อลดภาวะเสี่ยงของโรคซึมเศร้าในกลุ่มผู้สูงอายุ
  4. เพื่อลดภาวะผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มป่วย
  2. กิจกรรมตรวจสุขภาพเบื้องต้น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุในชุมชนไม่มีภาวะสมองเสื่อมและภาวะโรคซึมเสร้า
  2. ผู้สูงอายุสามารถดูแลตัวเองได้โดยไม่เป็นภาระแก่ลูกหลานตามสมควร
  3. ลดภาวะผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง
  4. สมาชิกชมรมผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมมากกว่าร้อยละ 70

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมตรวจสุขภาพเบื้องต้น

วันที่ 30 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • ตรวจสุขภาพเบื้องต้นและให้ความรู้การส่งเสริมสุขภาพแก่ผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.1 จำนวนผู้สูงอายุบ้านบอฆอ ทั้งหมด 73 คน เป็นสมาชิกชมรมโรงเรียนผู้สูงอายุ 65 คน คิดเป็นร้อยละ 89
ผู้สูงอายุที่ไม่เข้าร่วมเป็นสมาชิกชมรมโรงเรียนผู้สูงอายุ จำนวน 8 คน เนื่องจาก - ทำงานนอกพื้นที่ จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 62.5
- ไม่ได้อาศัยอยู่ในพื้นที่โดยตลอด จำนวน 3คน คิดเป็นร้อยละ 37.5
1.2 สมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมชมรมได้จำนวน 7 คน เนื่องจาก - มีความพิการด้านร่างกาย จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 28.6
- มีภาวะสมองเสื่อม จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 28.6
- ภาวะสุขภาพไม่แข็งแรง (อายุมาก) จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 42.9

 

0 0

2. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มป่วย

วันที่ 30 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดกิจกรรมรวมกลุ่มผู้สูงอายุประกอบด้วย
    • กิจกรรมสันทนาการเพื่อการผ่อนคลาย
    • ออกกำลังกาย เช่น การรำไม้พลอง
    • กิจกรรมธรรมสุขใจ
    • เยี่ยมผู้สูงอายุที่มีความเจ็บป่วยที่ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมในวันนั้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้สูงอายุได้เรียนรู้การใช้ชีวิตที่เหลืออยู่ อย่างมีความสุข สามารถใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างปกติ
  2. ผู้สูงอายุ สามารถดูแลสุขภาพของตนเอง และแก้ปัญหาสุขภาพได้ด้วยตนเองได้ในเบื้องต้น
  3. ผู้สูงอายุมีความสนุกสนาน ในการร่วมกิจกรรมลดภาวะเสี่ยงของการเกิดภาวะซึมเศร้า
  4. จากกิจกรรมการออกกำลังกายในชมรม ผู้สูงอายุได้นำกลับออกกำลังกายต่อที่บ้านส่งผลให้ สามารถป้องกันภาวะกล้ามเนื้อลีบ ข้อติดในผู้สูงอายุได้
  5. ผู้สูงอายุที่มีภาวะกล้ามเนื้อแขน ขา อ่อนแรงได้รับการฟื้นฟูจนสามารถช่วยเหลือตัวเองได้
  6. ผู้สูงอายุรู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง ไม่เป็นภาระของลูกหลาน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.1 จำนวนผู้สูงอายุบ้านบอฆอ ทั้งหมด 73 คน เป็นสมาชิกชมรมโรงเรียนผู้สูงอายุ 65 คน คิดเป็นร้อยละ 89 ผู้สูงอายุที่ไม่เข้าร่วมเป็นสมาชิกชมรมโรงเรียนผู้สูงอายุ จำนวน 8 คน เนื่องจาก - ทำงานนอกพื้นที่ จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 62.5
- ไม่ได้อาศัยอยู่ในพื้นที่โดยตลอด จำนวน 3คน คิดเป็นร้อยละ 37.5
1.2 สมาชิกชมรมผู้สูงอายุที่ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมชมรมได้จำนวน 7 คน เนื่องจาก - มีความพิการด้านร่างกาย จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 28.6
- มีภาวะสมองเสื่อม จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 28.6
- ภาวะสุขภาพไม่แข็งแรง (อายุมาก) จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 42.9 1.3 ผู้สูงอายุได้เรียนรู้การใช้ชีวิตที่เหลืออยู่ อย่างมีความสุข สามารถใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างปกติ 1.4 ผู้สูงอายุ สามารถดูแลสุขภาพของตนเอง และแก้ปัญหาสุขภาพได้ด้วยตนเองได้ในเบื้องต้น 1.5 ผู้สูงอายุมีความสนุกสนาน ในการร่วมกิจกรรมลดภาวะเสี่ยงของการเกิดภาวะซึมเศร้า 1.6 จากกิจกรรมการออกกำลังกายในชมรม ผู้สูงอายุได้นำกลับออกกำลังกายต่อที่บ้านส่งผลให้ สามารถป้องกันภาวะกล้ามเนื้อลีบ ข้อติดในผู้สูงอายุได้ 1.7 ผู้สูงอายุที่มีภาวะกล้ามเนื้อแขน ขา อ่อนแรงได้รับการฟื้นฟูจนสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ 1.8 ผู้สูงอายุรู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง ไม่เป็นภาระของลูกหลาน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีาสุขภาพดีสมวัยมากกว่าหรือเท่ากับ
60.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลตัวเองได้โดยไม่เป็นภาระแก่ลูกหลานตามสมควร
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ตามสภาพ
90.00

 

3 เพื่อลดภาวะเสี่ยงของโรคซึมเศร้าในกลุ่มผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุไม่มีปัญหาจากภาวะซึมเศร้าจากสาเหตุของการติดบ้าน
100.00

 

4 เพื่อลดภาวะผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุติดเตียงก่อนวัยอันควร
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 40 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มป่วย (2) กิจกรรมตรวจสุขภาพเบื้องต้น (3)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปันยิ้มสร้างสุขผู้สูงวัย ห่างไกลโรคสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า ปี 2562 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2482-1-7

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด