กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อาซ่อง


“ โครงการไข้เลือดออกป้องกันได้ด้วยชุมชน ”

ตำบลอาซ่อง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายอิสมาแอน ยีลาตอ

ชื่อโครงการ โครงการไข้เลือดออกป้องกันได้ด้วยชุมชน

ที่อยู่ ตำบลอาซ่อง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4166-02-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการไข้เลือดออกป้องกันได้ด้วยชุมชน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอาซ่อง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อาซ่อง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการไข้เลือดออกป้องกันได้ด้วยชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ และตระหนักถึงความร่วมมือในการ กำจัดลูกน้ำยุงลายเพื่อป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน (2) 2. เพื่อลดอัตราป่วยและไม่มีผู้ป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก (3) 3. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก (4) 4. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ (5) 5. เพื่อระดมความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้อบรมความรู้เชิงปฏิบัติการความรู้แก่ ประชาชนทั่วไป ผู้นำชุมชน เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก การป้องกัน และควบคุมโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เนื่องจากความรุนแรงของโรคไข้เลือดออกส่งผลต่อสุขภาพของผู้ป่วยเอง ชุมชน สังคมตามลำดับ เพราะโรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอดและได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างทั้งภาครัฐและเอกชนพบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนักยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา อำเภอรามันพบผู้ป่วยไข้เลือดออกและอาการเข้าข่ายโรคไข้เลือดออก ตั้งแต่เดือนมกราคม ถึง เดือนตุลาคม 2561 จำนวน 67 ราย ซึ่งพบผู้ป่วยครบทั้ง 16 ตำบล และมีผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย สำหรับตำบลอาซ่อง พบผู้ป่วยจำนวน 8 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 120.92 ต่อแสนประชากร (เกณฑ์ไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร)   จากปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ และตระหนักถึงความร่วมมือในการ กำจัดลูกน้ำยุงลายเพื่อป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน
  2. 2. เพื่อลดอัตราป่วยและไม่มีผู้ป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก
  3. 3. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
  4. 4. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
  5. 5. เพื่อระดมความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้อบรมความรู้เชิงปฏิบัติการความรู้แก่ ประชาชนทั่วไป ผู้นำชุมชน เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก การป้องกัน และควบคุมโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ มีความตระหนักและให้ความร่วมมือในเรื่องการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง ไม่มีแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในพื้นที่และสามารถเฝ้าระวังและควบคุมโรคในพื้นที่ได้ 2. อัตราป่วยจากโรคไข้เลือดออกลดลงและอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออกไม่มี
3. ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้อบรมความรู้เชิงปฏิบัติการความรู้แก่ ประชาชนทั่วไป ผู้นำชุมชน เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก การป้องกัน และควบคุมโรค

วันที่ 19 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ แก่ประชาชนทั่วไป ผู้นำชุมชน เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก การป้องกัน และควบคุมโรค 2.ร่วมกันสำรวจและทำลายแหล่งเพราะพันธ์ยุงลาย 3.ควบคุมการแพร่ระบาด และพ่นหมอกควัน ครอบคลุมทุกพื้นที่ ทุกครั้งที่มีการรายงานผู้ป่วย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชาชนได้รับความรู้ และมีความตระหนักในเรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออก และให้ความร่วมมือในการควบคุมโรค 2.อัตราการป่วยลดลง 3.ประชาชนมีการดำเนินกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย

 

120 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ และตระหนักถึงความร่วมมือในการ กำจัดลูกน้ำยุงลายเพื่อป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อลดอัตราป่วยและไม่มีผู้ป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 4. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 5. เพื่อระดมความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ และตระหนักถึงความร่วมมือในการ กำจัดลูกน้ำยุงลายเพื่อป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน (2) 2. เพื่อลดอัตราป่วยและไม่มีผู้ป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก (3) 3. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก (4) 4. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ (5) 5. เพื่อระดมความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้อบรมความรู้เชิงปฏิบัติการความรู้แก่ ประชาชนทั่วไป ผู้นำชุมชน เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก การป้องกัน และควบคุมโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการไข้เลือดออกป้องกันได้ด้วยชุมชน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4166-02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอิสมาแอน ยีลาตอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด