กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่


“ คัดกรองภาวะแทรกซ้อนตาและเท้าผู้ป่วยเบาหวาน ศูนย์บริการสาธารณสุขโรงเรียนเทศบาล4 ”

ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอรพิณ ปริสุทธิชัย

ชื่อโครงการ คัดกรองภาวะแทรกซ้อนตาและเท้าผู้ป่วยเบาหวาน ศูนย์บริการสาธารณสุขโรงเรียนเทศบาล4

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7258-1-8 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"คัดกรองภาวะแทรกซ้อนตาและเท้าผู้ป่วยเบาหวาน ศูนย์บริการสาธารณสุขโรงเรียนเทศบาล4 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
คัดกรองภาวะแทรกซ้อนตาและเท้าผู้ป่วยเบาหวาน ศูนย์บริการสาธารณสุขโรงเรียนเทศบาล4



บทคัดย่อ

โครงการ " คัดกรองภาวะแทรกซ้อนตาและเท้าผู้ป่วยเบาหวาน ศูนย์บริการสาธารณสุขโรงเรียนเทศบาล4 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-1-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อน เนื่องจากระดับน้ำตาลในกระแสเลือดมี ปริมาณสูงขึ้น ระดับน้ำตาลที่สูงติดต่อกันเป็นเวลานานจะทำลายหลอดเลือด และอวัยวะต่างๆ เช่น หัวใจ ไต ตา สมอง ทำให้เกิดอาการแทรกซ้อนต่อระบบอวัยวะต่างๆ เช่น ส่งผลกระทบต่อเส้นเลือดที่ตา ทำให้เกิดอาการตามัว หรือตาบอด ส่งผลต่อเลือดที่ไต ทำให้เกิดการทำงานของไตผิดปกติ ไตวาย ส่งผลต่อเลือดที่หัวใจ ทำให้เกิดเส้นเลือดหัวใจตีบตัน ส่งผลต่อระบบประสาท ทำให้เกิดภาวะปลายเส้นประสาทอักเสบ ส่งผลต่อบริเวณเส้นเลือดปลายมือ ปลายเท้า ทำให้เกิดแผลที่เท้าได้ง่าย ภาวะแทรกซ้อน ต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วยโรคเบาหวานทุกราย ล้วนแล้วแต่เป็นสิ่งที่น่ากลัว แต่อาการแทรกซ้อนที่พบมากที่สุดคือ การเกิดภาวะแทรกซ้อนทางตา และภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาท โรคเบาหวานจะทำให้หลอดเลือดเล็กๆ ที่มาเลี้ยงเส้นประสาทบริเวณปลายมือ ปลายเท้าเกิดพยาธิสภาพ ก็จะทำให้เส้นประสาทนั้นไม่สามารถนำความรู้สึกต่อไปได้ เช่น รู้สึกชา ปวดแสบปวดร้อนตามปลายมือ เมื่อผู้ป่วยมีแผล ผู้ป่วยก็จะไม่รู้ตัว และไม่ดูแล ประกอบกับในเลือดผู้ป่วยมีน้ำตาลสูง จึงเป็นอาหารอย่างดีให้กับเชื้อโรค ส่งผลให้แผลเน่า ศูนย์บริการสาธารณสุขโรงเรียนเทศบาล 4 มีผู้ป่วยเบาหวานมารับบริการเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งจาก การเก็บรวบรวมข้อมูล 5 ปีย้อนหลัง (2557-2561)พบว่า มีผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 230,323,346,353,และ 392 คน ตามลำดับ ได้รับการตรวจตา จำนวน 130,181,218,269, และ 266 คน ตามลำดับ คิดเป็นร้อยละ 56.5,56,63,76.2 และ 67.9 ตามลำดับ โดยตัวชี้วัด(ตามTemplate ของสสจ.สงขลา) การดูแลผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจจอประสาทตา อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ร้อยละ 60 ซึ่งพบว่าการดำเนินงานยังไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดดังกล่าว ทำให้ผู้ป่วยขาดโอกาสในการรักษาอย่างทันท่วงที จากการดำเนินงานที่ผ่านมาผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อน จะส่งต่อไปรับการตรวจตาที่โรงพยาบาลหรือคลินิคตามที่ผู้ป่วยสะดวก แต่ก็ยังมีอัตราการตรวจไม่ได้ตามเกณฑ์เป้าหมาย ต่อมาในปี 2560 โรงพยาบาลหาดใหญ่ได้มีเครื่องมือตรวจตา เรียกว่า กล้อง Fundus Camera ซึ่งสามารถดำเนินการโดยพยาบาลวิชาชีพที่ผ่านการอบรม และเครื่องนี้สามารถนำมาใช้หมุนเวียนตามศูนย์บริการต่างๆได้โดยไม่ต้องผ่านกระบวนการรอเข้ารับการตรวจรักษาจากโรงพยาบาลหาดใหญ่ ซึ่งสามารถช่วยเพิ่มอัตราการตรวจตาได้เพิ่มขึ้น ศูนย์บริการสาธารณสุขโรงเรียนเทศบาล 4 จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตาและเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน ขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยได้มีความรู้ในการดูแลตนเอง ป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน และสามารถเข้าถึงบริการให้ได้มากที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรอง เพื่อค้นหาภาวะจอประสาทตาผิดปกติ และได้รับการตรวจเท้า
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลตนเอง ลดความเสี่ยงภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวานขึ้นตาและเท้า
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที ลดความพิการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตาและเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยเบาหวานได้เข้ารับการตรวจคัดกรองตาและเท้า

  2. ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ ความเข้าใจสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง

  3. ผู้ป่วยเบาหวานที่มีความผิดปกติ สามารถเข้ารับการรักษาต่อจากแพทย์อย่างทันท่วงที


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตาและเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน

วันที่ 15 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

บรรยาย เรื่่องการดูแลตนเองและป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พบผู้ป่วยผิดปกติ จำนวน 13 คน

 

200 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรอง เพื่อค้นหาภาวะจอประสาทตาผิดปกติ และได้รับการตรวจเท้า
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลตนเอง ลดความเสี่ยงภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวานขึ้นตาและเท้า
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที ลดความพิการ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรอง เพื่อค้นหาภาวะจอประสาทตาผิดปกติ และได้รับการตรวจเท้า (2) เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลตนเอง  ลดความเสี่ยงภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวานขึ้นตาและเท้า (3) เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที ลดความพิการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตาและเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


คัดกรองภาวะแทรกซ้อนตาและเท้าผู้ป่วยเบาหวาน ศูนย์บริการสาธารณสุขโรงเรียนเทศบาล4 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7258-1-8

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอรพิณ ปริสุทธิชัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด