กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง


“ โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กรณีความดันโลหิตสูง เบาหวาน ปีงบประมาณ 2562 ”

ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านจันนา

ชื่อโครงการ โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กรณีความดันโลหิตสูง เบาหวาน ปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-50105-01-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กรณีความดันโลหิตสูง เบาหวาน ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กรณีความดันโลหิตสูง เบาหวาน ปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กรณีความดันโลหิตสูง เบาหวาน ปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 62-50105-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้สภาพปัญหาทางสุขภาพเปลี่ยนไปด้วย ปัจจุบันแนวโน้มปัญหาสุขภาพที่เพิ่มสูงขึ้นจากสาเหตุโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเหล่านี้เป็นปัญหาที่สำคัญระดับประเทศและระดับโลก ซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้นสถานการณ์โรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากสถิติจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงในระดับประเทศย้อนหลัง ปี พ.ศ.๒๕๕6 มีจำนวนผู้ป่วย ๑,๐๔๗,๙๗๙ คน คิดเป็นอัตราป่วย ๑,๖๒๑.๗๑ ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ.๒๕๕๗ มีจำนวนผู้ป่วย ๑,๑๑๑,๓๑๑ คน คิดเป็นอัตราป่วย ๑,๗๑๐.๘๙ ต่อแสนประชากร และปี พ.ศ.๒๕๕๘ มีจำนวนผู้ป่วย ๑,๒๓๑,๙๑๙ คิดเป็นอัตราป่วย ๑,๘๙๔.๔๖ ต่อแสนประชากร และสถิติจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน ปี พ.ศ.๒๕๕๖ มีจำนวนผู้ป่วย ๖๙๘,๗๒๐ คน คิดเป็นอัตราป่วย ๑,๐๘๑.๒๑ ต่อแสนประชากร ปี ๒๕๕๗ มีจำนวนผู้ป่วย ๖๗๐,๖๖๔ คน คิดเป็นอัตราป่วย ๑,๐๓๒.๕๒ ต่อแสนประชากร ปี ๒๕๕๘ มีจำนวนผู้ป่วย ๘๐๒,๐๑๗ คน คิดเป็นอัตราป่วย ๑,๒๓๓.๓๕ ต่อแสนประชากร ตามลำดับ       จังหวัดพัทลุง สถิติจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงในระดับประเทศย้อนหลัง ปี พ.ศ.๒๕๕๖ มีจำนวนผู้ป่วย ๘,๐๕๐ คน คิดเป็นอัตราป่วย ๑,๕๕๙.๓๐ ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ.๒๕๕๗ มีจำนวนผู้ป่วย ๗,๗๔๙คน คิดเป็นอัตราป่วย ๑,๔๙๒.๔๓ ต่อแสนประชากร และปี พ.ศ.๒๕๕๘ มีจำนวนผู้ป่วย ๙,๗๙๔ คิดเป็นอัตราป่วย ๑,๘๗๘.๓๓ ต่อแสนประชากร และสถิติจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน ปี พ.ศ.๒๕๕๖ มีจำนวนผู้ป่วย ๔,๖๖๖ คน คิดเป็นอัตราป่วย ๙๐๓.๘๑ ต่อแสนประชากร ปี ๒๕๕๗ มีจำนวนผู้ป่วย ๔,๕๗๔ คน คิดเป็นอัตราป่วย ๘๘๐.๙๔ ต่อแสนประชากร ปี ๒๕๕๘ มีจำนวนผู้ป่วย ๕,๔๔๖ คน คิดเป็นอัตราป่วย ๑,๐๔๔.๔๖ ต่อแสนประชากร ตามลำดับ       โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจันนา ในเขตรับผิดชอบตำบลชะมวง หมู่ 7 และ หมู่ 8 ชะมวง มีจำนวนสถิติและอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงย้อนหลัง ปี พ.ศ.๒๕๕๙ มีจำนวนผู้ป่วย 64 คน คิดเป็นอัตราป่วย 2,586.9๐ ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ.๒๕๖๐ มีจำนวนผู้ป่วย 72 คน คิดเป็นอัตราป่วย 2,910.27 ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ.๒๕๖๑ มีจำนวนผู้ป่วย 75 คน คิดเป็นอัตราป่วย 3,031.53 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ และจำนวนสถิติและอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานย้อนหลัง ปี พ.ศ.๒๕๕๙ มีจำนวนผู้ป่วย 31 คน คิดเป็นอัตราป่วย 1,253.03 ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ.๒๕๖๐ มีจำนวนผู้ป่วย 34 คน คิดเป็นอัตราป่วย 1,374.29 ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ.๒๕๖๑ มีจำนวนผู้ป่วย 35 คน คิดเป็นอัตราป่วย 1,414.71 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ จากสถิติดังกล่าว จะเห็นได้ว่ามีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งส่งผลให้เกิดมีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นทำให้ประเทศชาติสูญเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพ ให้ประชาชนไม่เป็นโรคเป็นเรื่องที่มีความสำคัญเพราะจะทำให้ประชาชนสุขภาพชีวิตที่ดีและไม่สูญเสียงบประมาณในการดูแลการเจ็บป่วยดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพ ให้ประชาชนไม่เป็นโรคเป็นเรื่องที่มีความสำคัญเพราะจะทำให้ประชาชนสุขภาพชีวิตที่ดีและไม่สูญเสียงบประมาณในการดูแลการเจ็บป่วย แนวทางการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน และการป้องกันภาวะแทรกซ้อนเมื่อเกิดเป็นโรคแล้วจึงเป็นทางเลือกที่ดี การป้องกันและควบคุมโรคซึ่งสามารถกระทำได้ทั้งการส่งเสริมสุขภาพ ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อคัดกรองคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป
  2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.ในกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรอง
  3. เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX>=100 mg/dL) มารับการเจาะFBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  4. เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงค่าความดันฯตัวบนมากกว่า ๑๔๐และ/หรือ ตัวล่างมากกว่า 90 มม.ปรอท (HMBP)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงร้อยละ ๙5
  2. ประชากรกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันได้ร้อยละ 60
  3. อัตราการเกิดเบาหวานรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 2.4
  4. กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.
  5. กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX>=100 mg/dL) ได้รับการเจาะFBS ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐
  6. กลุ่มเสี่ยงค่าความดันฯตัวบนมากกว่า ๑๔๐และ/หรือ ตัวล่างมากกว่า 90 มม.ปรอท (HMBP) ได้รับการวัดความดันซ้ำ    ตาม CPG ร้อยละ 90

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงอายุ 35 ปี ขึ้นไป

วันที่ 5 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป  จำนวน  500  คน
กลุ่มปกติ  400  คน  คิดเป็นร้อยละ  80 กลุ่มเสี่ยง  94  คน  คิดเป็นร้อยละ  18.80 กลุ่มสงสัยเป็นโรค  6  คน  คิดเป็นร้อยละ  1.20 พบผู้ป่วยรายใหม่  จำนวน  2  ราย ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่  จำนวน  2  ราย ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่  จำนวน 6  ราย ติดตามกลุ่มเสี่ยงทุก 6 เดือน และรายงานผลตามลำดับขั้นตอน ติดตามผู้ป่วยรายใหม่รับยาต่อเนื่อง และเยี่ยมบ้านปีละครั้ง

 

500 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคัดกรองคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป
ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูงไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
95.00

 

2 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.ในกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรอง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
60.00

 

3 เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX>=100 mg/dL) มารับการเจาะFBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX>=100 mg/dL ได้รับการเจาะFBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
60.00

 

4 เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงค่าความดันฯตัวบนมากกว่า ๑๔๐และ/หรือ ตัวล่างมากกว่า 90 มม.ปรอท (HMBP)
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงค่าความดันฯตัวบนมากกว่า ๑๔๐และ/หรือ ตัวล่างมากกว่า 90 มม.ปรอท (HMBP) ได้รับการวัดความดันซ้ำตาม CPG ร้อยละ 90
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.ในกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรอง (3) เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน(ค่า DTX>=100 mg/dL) มารับการเจาะFBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (4) เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงค่าความดันฯตัวบนมากกว่า ๑๔๐และ/หรือ ตัวล่างมากกว่า 90 มม.ปรอท (HMBP)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กรณีความดันโลหิตสูง เบาหวาน ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-50105-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านจันนา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด