กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่


“ โครงการร่วมด้วยช่วยกันรักษ์ฟันของหนู ”

ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางปัทมา รัตนา/หัวหน้าสถานศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ทุ่งใหญ่

ชื่อโครงการ โครงการร่วมด้วยช่วยกันรักษ์ฟันของหนู

ที่อยู่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L8405-3-3 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร่วมด้วยช่วยกันรักษ์ฟันของหนู จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร่วมด้วยช่วยกันรักษ์ฟันของหนู



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร่วมด้วยช่วยกันรักษ์ฟันของหนู " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L8405-3-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพช่องปาก มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดูแลตั้งแต่เด็กแรกคลอด จนกระทั่งฟันงอก และต่อเนื่องไป เพราะหากเด็กมีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง ได้แก่การหลับคาขวด การไม่ดื่มน้ำตามหลังจากการดื่มนมขวด การดื่มนมที่มีรสหวาน อาจส่งผลให้เด็กฟันผุเพราะโรคฟันผุในเด็กเล็กมีสาเหตุสำคัญมาจากการได้รับเชื้อที่เป็นสาเหตุหลักของฟันผุ ในช่วงที่ฟันเริ่มขึ้นมาในช่องปาก ร่วมกับการที่เด็กกินอาหารที่มีน้ำตาลสูง และไม่ได้รับการแปรงฟัน การมีสุขภาพฟันดี ฟันไม่ผุ ย่อมส่งผลดีในเรื่องการเคี้ยวอาหาร การพูด การยิ้มของเด็ก สิ่งเหล่านี้ช่วยสร้างความเชื่อมั่นในตนเองให้แก่เด็ก นอกจากนี้หากฟันน้ำนมหลุดไปตามวัยที่ควร จะทำให้ฟันแท้ขึ้นได้ตรง เด็กในช่วงปฐมวัยเป็นช่วงเวลาพัฒนานิสัยในทุกๆ ด้าน ดังนั้นการส่งเสริมการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กให้มีคุณำาพดีจึงมีความสำคัญยิ่ง เพื่อการบ่มเพาะสุขนิสัยการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องแก่เด็กตั้งแต่วัยเริ่มแรกของชีวิต ซึ่งจะต้องพัฒนาเป็นแบบแผนพฤติกรรมทันตสุขภาพที่ดีต่อเนื่องถึงเติบใหญ่และสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้  จากการสำรวจสภาวะช่องปากของเด็ก ในศูนย์พัมนาเด็กเล็กสุขภาพฟันของเด็กมีความสัมพันธ์กับสุขภาพโดยรวมของเด็ก โดยเจ้าหน้าที่ฝ่ายทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ พบวา่ เด็กในศูนย์พัมนาเด็กเล้ก อบต.ทุ่งใหญ่มีฟันผุ จำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าสุขภาพช่องปากและพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ยังเป็นปัยหาที่สูงอยู่ ผู้ที่มีส่วนสำคัญที่จะทำให้การดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเป็นไปได้ด้วยดีอย่างต่อเนื่องคือสถาบันครอบครัว ซึ่งเป็นต้นตอของปัญหา พฤติกรรมด่านแรก ในขณะเดียวกันก็มีอิทธิพลต่อการบริโภคของเด็ก ๆ     ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ทุ่งใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการร่วมด้วยช่วยกันรักษ์ฟันของหนู ขึ้นต่อเนื่องกันทุกปี โดยให้ผู้ปกครองที่เลี้ยงดูเด็กและครูผู้ดูแลเด็กมีส่วนร่วมในการดูแล โดยมีเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ เป็นผู้สนับสนุนผลักดันให้เกิดพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ถูกต้องเพื่อที่จะเป็นส่วนช่วยให้เกิดความเข้มแข็งในประเด็นสุขภาพอื่น ๆ ต่อไปด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก 2-5 ปี ที่มีปัญหาฟันผุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมส่งเสริมการแปรงฟัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ร้อยละของเด็กที่อยู่ในศูนย์พัมนาเด็กเล็ก อบต.ทุ่งใหญ่ ได้รับการดูแลสุขภาพในช่องปากทำให้ลดปัญหาฟัผุของเด้กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผู้ปกครองมีความรู้ในการดูแลเด็กเกี่ยวกับการทำความสะอาดช่องปากเด็กใน ศพด. และเด็กไได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากเพื่อป้องกันฟันผุ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก 2-5 ปี ที่มีปัญหาฟันผุ
ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กเล็ก 2-5 ปี ที่มีปัญหาฟันผุ
50.00 49.00
  1. อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเรื่องการทำความสะอาดช่องปากเด็ก
  2. ตรวจสุขภาพช่องปากเด็ก

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 49
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50 49
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก 2-5 ปี ที่มีปัญหาฟันผุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมส่งเสริมการแปรงฟัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการร่วมด้วยช่วยกันรักษ์ฟันของหนู จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L8405-3-3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปัทมา รัตนา/หัวหน้าสถานศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ทุ่งใหญ่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด