กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการแช่เท้าสมุนไพรในผู้ป่วยเบาหวาน ”
ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
ประธานชมรม อสม.รพ.สต.บ้านศาลาตำเสา




ชื่อโครงการ โครงการแช่เท้าสมุนไพรในผู้ป่วยเบาหวาน

ที่อยู่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-50105-02-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มกราคม 2562 ถึง 13 กันยายน 2562

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแช่เท้าสมุนไพรในผู้ป่วยเบาหวาน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแช่เท้าสมุนไพรในผู้ป่วยเบาหวาน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแช่เท้าสมุนไพรในผู้ป่วยเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 62-50105-02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มกราคม 2562 - 13 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายสนับสนุนการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือกให้เป็นที่รู้จักเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ง่าย และใช้บริการอย่างแพร่หลายมากขึ้น ตอบสนองต่อนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงสาธารณสุข โดยการพัฒนาระบบงานบริการงานแพทย์แผนไทยให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในการให้บริการสำหรับประชาชนทั่วไป โดยมีการให้บริการแพทย์แผนไทยพร้อมทั้งเพิ่มความหลากหลายในการให้บริการการแพทย์แผนไทยมากขึ้น เบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขของประเทศ ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในหลายระบบของร่างกาย อาทิ เบาหวานขึ้นตา โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคไตเรื้อรัง และการสูญเสียเท้าจากแผลเบาหวาน หากได้รับการดูแลไม่ถูกต้อง มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนทั้งแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรัง เนื่องจากเมื่อมีน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เมื่อเวลาผ่านไปเบาหวานสามารถก่อให้เกิดพยาธิสภาพของหลอดเลือด และเส้นประสาท ส่งผลให้เลือดไปเลี้ยงบริเวณเท้าได้ไม่ดี เส้นประสาทรับความรู้สึกมีความผิดปกติ ทำให้เกิดอาการชาและการับรู้ที่เท้าเสียไป เสี่ยงต่อการเกิดแผลที่เท้าได้ง่าย หากได้รับการดูแลที่ไม่เหมาะสมอาจเกิดการลุกลามของแผลจนต้องสูญเสียเท้าในที่สุด นับเป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตและภาวะเศรษฐกิจของผู้เป็นเบาหวานและครอบครัว รวมทั้งประเทศชาติด้วย ผู้เป็นเบาหวานและครอบครัวได้รับความรู้ รวมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้องอย่างเพียงพอ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้เป็นไปตามเป้าหมายการรักษา ให้อยู่ในเกณฑ์ที่ปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนทั้งในระยะสั้นและระยะยาว

ดังนั้น เพื่อสนับสนุนโยบายของรัฐบาลและตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการในการแพทย์ทางเลือก ชมรม อสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาตำเสา จึงได้จัดทำโครงการดูแลสุขภาพเท้าในผู้ป่วยเบาหวานด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย เพื่อให้ประชาชนได้มีทางเลือกในการดูแลอาการชาปลายเท้าในผู้ป่วยเบาหวานมากขึ้น แบบครบวงจร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการ และเพื่อความสะดวกในการเข้าถึงของผู้รับบริการมากยิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย ลดอาการปวด อาการชาปลายเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 100 คน และสนับสนุนและตอบสนองนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงสาธารณสุขที่มุ่งให้การแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือกเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย
  2. เพื่อเป็นการเฝ้าระวังภาวะความเสี่ยงของแผลที่เท้า
  3. เพื่อให้เกิดทักษะในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดกับเท้าผู้ป่วยเบาหวาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ในการดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวานด้วยการแพทย์แผนไทย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ปุป่วยโรคเบาหวานมีความรู้เรื่องการดูแลเท้าเบื้องต้น
  2. ผู้ป่วยโรคเบาหวานตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลเท้าและสามารถดูแลเท้าได้ด้วยตนเอง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้ในการดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวานด้วยการแพทย์แผนไทย

วันที่ 8 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดเตรียมสถานที่อบรม ทำหนังสือเชิญวิทยากรและกลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ในการดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวานได้ถูกต้อง

 

93 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย ลดอาการปวด อาการชาปลายเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 100 คน และสนับสนุนและตอบสนองนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงสาธารณสุขที่มุ่งให้การแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือกเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานอย่างน้อย ร้อยละ 60 ได้รับการแช่เท้าด้วยสมุนไพร
60.00

 

2 เพื่อเป็นการเฝ้าระวังภาวะความเสี่ยงของแผลที่เท้า
ตัวชี้วัด : ลดการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน อย่างน้อย ร้อยละ 5
5.00

 

3 เพื่อให้เกิดทักษะในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดกับเท้าผู้ป่วยเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานสามารถนำแบบอย่างไปปฏิบัติที่บ้านได้ต่อเนื่อง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย  ลดอาการปวด อาการชาปลายเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน  100  คน และสนับสนุนและตอบสนองนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงสาธารณสุขที่มุ่งให้การแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือกเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย (2) เพื่อเป็นการเฝ้าระวังภาวะความเสี่ยงของแผลที่เท้า (3) เพื่อให้เกิดทักษะในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดกับเท้าผู้ป่วยเบาหวาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ในการดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวานด้วยการแพทย์แผนไทย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแช่เท้าสมุนไพรในผู้ป่วยเบาหวาน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-50105-02-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ประธานชมรม อสม.รพ.สต.บ้านศาลาตำเสา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด