กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุโสะ


“ โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ”

ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางศรีคำ เจะบ่าว

ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี

ที่อยู่ ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1487-2-4 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุโสะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L1487-2-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุโสะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตำบลสุโสะ ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้สูงอายุเป็นวัยที่มีความเปราะบางด้านสุขภาพกาย การจัดระบบการดูแลเพื่อให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ (Active Aging) มีความรู้ความสามารถและความมั่นคงในชีวิต ที่ผ่านมาทำได้ในระยะสั้น อีกทั้งผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีภาวะเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ซึ่งปัญหาดังกล่าวทั้งในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่ผ่านมาทำได้ในระยะสั้น อีกทั้งผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีภาวะเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ซึ่งปัญหาดังกล่าวทั้งในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ มักส่งผลกระทบต่อทั้งญาติผู้ดูแลและผู้ป่วย ในบางรายญาติไม่มีเวลาพอที่จะมาดูแล หรือบางรายก็ขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ หวังพึ่งพิงจากบุคลากรสาธารณสุขเพียงอย่างเดียว เกิดภาวะซึมเศร้า หนีสังคม ประกอบกับในปัจจุบันทุกภาคส่วนล้วนมีความตื่นตัวในการเตรียมการ วางมาตราการต่างๆ เพื่อรอรับการเปลี่ยนแปลง   ทางชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสุโสะ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของกลุ่มผู้สูงอายุจึงได้จัดตั้งชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสุโสะขึ้นมา จากความเห็นชอบ และสนับสนุนจากตัวของผู้สูงอายุเอง และ อสม.รวมทั้งประชาชนทุกคนในชุมชน ซึ่งกิจกรรมของชมรมได้สนับสนุน ให้สมาชิกในชมรมมีการรวมกลุ่มจัดเวทีสาธารณะเพื่อผู้สูงอายุได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ชีวิต มีการปรึกษาหารือเรื่องส่วนตัว และจัดกิจกรรมการดูแลสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ทั้งการดูแลเสริมทักษะการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย และวิธีผ่อนคลายความเครียด การตรวจสุขภาพขั้นพิ้นฐาน เช่น การตรวจวัดความดันโลหิต การเจาะน้ำตาลในเลือด เป็นต้น   ดังนั้น ทางชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสุโสะ มีการจัดกิจกรรมดังกล่าวข้างต้น และมีการจัดกิจกรรมรวมกลุ่มใหญ่ประจำปี พบปะสมาชิกชมรมทุกคนปีละหนึ่งครั้ง โดยมีการจัดกิจกรรมทุกวันอังคารที่สามของเดือนทุกเดือน ชมรมจะมีการดำเนินงานที่ต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี เพื่อความยั่งยืนของชมรมและเป็นการส่งเสริมให้สมาชิกมีโอกาส เข้ามาร่วมสนุก ผ่อนคลาย ตรวจสุขภาพดังเช่นทุกปีที่ผ่านมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อผู้สูงอายุ มีความรู้และทักษะการดูแลตนเอง
  2. เพื่อผู้สูงอายุได้มาพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์
  3. เพื่อความต่อเนื่องและยั่งยืนของชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสุโสะ
  4. เยี่ยมบ้าน ติดตามดูแลแบบองค์รวมโดยผู้ดูแลผู้สูงอายุ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมผู้สูงอายุสุขภาพดี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 300
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุ มีความรู้และทักษะการดูแลตนเอง ร้อยละ 80 2.ผู้สูงอายุได้มาพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ร้อยละ 80 3.สมาชิกชมรมเข้าร่วมชมรมอย่างสม่ำเสมอ เป็นประจำ มีการจัดกิจกรรมต่อเนื่อง อย่างยั่งยืน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมผู้สูงอายุสุขภาพดี

วันที่ 24 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นเตรียมการ 1.ประชุมชี้แจง รายละเอียดโครงการ 2.ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านเสียงตามสายของหมู่บ้าน ขั้นดำเนินการ 1.จัดกิจกรรมตรวจคัดกรอง วัดความดันโลหิตสูง ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง คำนวณค่า BMI วัดรอบเอว และเจาะหาน้ำตาลในเลือด 2.จัดการอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุ และผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน 3.การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสมาชิกชมรมผู้สุงอายุด้วยกัน การเล่าประสบการณ์ การปรึกษาหารือสมาชิกด้วยกัน 4.ติดตามเยี่ยมบ้านโดยทีมผู้ดูแลผู้สูงอายุ ขั้นสรุปผลดำเนินการ 1.ติดตามประเมินผลและกิจกรรมการดำเนินงานตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้สูงอายุ มีความรู้และทักษะการดูแลตนเอง 2.ผู้สูงอายุได้มาพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ 3.สมาชิกชมรมเข้าร่วมชมรมอย่างสม่ำเสมอ เป็นประจำ มีการจัดกิจกรรมต่อเนื่อง อย่างยั่งยืน

 

300 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.จัดกิจกรรมตรวจคัดกรอง วัดความดันโลหิตสูง ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง คำนวณค่า BMI วัดรอบเอวและเจาะหาน้ำตาลในเลือด 2.จัดการอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุ และผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน 3.การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสมาชิกชมรมผู้สูงอายุด้วนกัน การเล่าประสบการณ์ การปรึกษาหารือสมาชิกด้วยกัน 4.ติดตามเยี่ยมบ้านโดยทีมผู้ดูแลผู้สูงอายุ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อผู้สูงอายุ มีความรู้และทักษะการดูแลตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้สูงอายุ มีความรู้และทักษะการดูแลตนเอง
300.00 300.00

ร้อยละ 80 ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะการดูแลตนเอง

2 เพื่อผู้สูงอายุได้มาพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้สูงอายุได้มรพบปะแลเปลี่ยนประสบการณ์
300.00 300.00

ร้อยละ 80 ผู้สูงอายุมีกลุ่มเพื่อทำกิจกรรมร่วมกันอย่างมีความสุข

3 เพื่อความต่อเนื่องและยั่งยืนของชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสุโสะ
ตัวชี้วัด : สมาชิกชมรมเข้าร่วมชมรมอย่างสม่ำเสมอ เป็นประจำ มีการจัดกิจกรรมต่อเนื่อง อย่างยั่งยืน
300.00 300.00

ร้อยละ 90 สมาชิกชมรมเข้าร่วมชมรมอย่างสม่ำเสมอ เป็นประจำ มีการจัดกิจกรรมต่อเนื่อง อย่างยั่งยืน

4 เยี่ยมบ้าน ติดตามดูแลแบบองค์รวมโดยผู้ดูแลผู้สูงอายุ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 82 อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีการเยี่ยมบ้าน ติดตามดูแลแบบองค์รวมโดยผู้ดูแลผู้สูงอายุ
684.00 570.00

ร้อยละ 82 อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีการเยี่ยมบ้าน ติดตามดูแลแบบองค์รวมโดยผู้ดูแลผู้สูงอายุ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 300 300
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อผู้สูงอายุ มีความรู้และทักษะการดูแลตนเอง (2) เพื่อผู้สูงอายุได้มาพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ (3) เพื่อความต่อเนื่องและยั่งยืนของชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสุโสะ (4) เยี่ยมบ้าน ติดตามดูแลแบบองค์รวมโดยผู้ดูแลผู้สูงอายุ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมผู้สูงอายุสุขภาพดี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1487-2-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศรีคำ เจะบ่าว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด