กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุโสะ


“ โครงการคัดกรอง มะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก ”

ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางชลธิชา ปานแดง

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรอง มะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก

ที่อยู่ ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1487-2-5 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรอง มะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุโสะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรอง มะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรอง มะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L1487-2-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุโสะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตของประชาชนและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมาก มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมาที่สุดในเพศหญิงพบได้ในสตรีตั้งแต่วัยสาวจนถึงวัยชรา พบมากในช่วงอายุ 30-50 ปี ในแต่ละปีผู้หญิงทั่วโลกป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้นปีละ 500,000 บาท เสียชีวิตปีละ 200,000 คน ซึ่งประมาณร้อยละ 80 ของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกอยู่ในประเทศกำลังพัฒนา สำหรับประเทศไทยโรคมะเร็งเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตของคนไทยเป็นอันดับหนึ่ง และมะเร็งที่เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตมากที่สุดคือมะเร็งปากมดลูก (ระบบฐานข้อมูลด้านสังคมและคุณภาพชีวิต 2555) ประชากรวัยทำงานในประเทศไทย อยู่ในช่วงอายุ ระหว่าง 15-59 ปี จัดเป็นประชากรกลุ่มใหญ่ของประเทศ คือ ประมาณ 2 ใน 3 ของประชากรทั้งหมด (ล้านคน) หรือประมาณ 43 ล้านคน จากประชากรทั้งหมดทั่วประเทศ (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม 2555) ในช่วงอายุของวัยทำงานโดยเฉพาะสตรีประกอบด้วยช่วงวัยเจริญพันธ์ุและช่วงวัยทองในแต่ละช่วงวัยจะมีการเปลี่ยนแปลงของสภาพร่างกายและวิธีการดำเนินชีวิตที่แตกต่างกันในแต่ละช่วงวัยเจริญพันธุ์ จากการเปลี่ยนแปลงตามวัยและสภาพแวดล้อมสตรีไทยจึงจำเป็นต้องได้รับการป้องกันและการสร้างเสริมสุขภาพให้สามารถลดพฤติกรรมเสี่ยงและลดภาวะเสี่ยงต่างๆ โดยเฉพาะมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ซึ่งมีอัตราการเกิดโรคสูงเป็นอันดับหนึ่งและสอง และพบได้มาในสตรีช่วงวัยดังกล่าว จากการรายงานสถานการณ์การเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกในประเทศไทย จะเห็นได้ว่าหญิงไทยมีแนวโน้มการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งปากมดลูกสูงขึ้นทุกปี เฉลี่ยปีละประมาณ 5,000 คน หรือคิดเป็นผู้เสียชีวิตวันละ 14 คน จากการรายงานสถานการณ์การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โดยกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข ความครอบคลุมการคัดกรองในกลุ่ม 30-60 ปี พ.ศ.2547-2554 อยู่ที่ร้อยละ 48.5-60.2 จะเห็นได้ว่ายังมีความครอบคลุมในระดับที่ไม่มากนัก ทางกระทรวงสาธารณสุขเล็งเห็นความสำคัญ ได้มีนโยบายและจัดการรณรงค์ในการตรวจคัดกรองอย่างสม่ำเสมอ (กระทรวงสาธารณสุข 2555) นอกจากนี้ยังพบว่า การตรวจวินิจฉัยและให้การรักษาผู้ที่มีความผิดปกติของปากมดลูกตั้งแต่ระยะก่อนเป็นมะเร็งตามขั้นตอน ที่ถูกต้องเหมาะสมสามารถลดอุบัติการณ์และอัตราการตายของโรคมะเร็งปากมดลูกได้ เนื่องจากมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่สมารถตรวจพบได้ตั้งแต่เซลล์เริ่มผิดปกติโดยการทำ Pop smear หรือ VIA (Visual Inspection of cervix with Acetic acid) ประกอบกับการดำเนินโรคเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไปและสามารถรักษาให้หายขาดได้โดยการรักษาตามระบบและการจี้เย็น (cryotherapy) และมะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งที่สามารถตรวจค้นหาความผิดปกติได้ด้วยตนเองเพราะการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้องเป็นประจำนั้น จะทำให้ทราบถึงสภาพที่ปกติของเต้านม หากเกิดความผิดปกติของเต้านมจะสามารถพบได้ตั้งแต่เนิ่นๆ คือ สามารถคลำพบก้อนได้ขนาดที่เล็กกว่า 2 ซม. ซึ่งหากได้รับการวินิจฉัยและรักษาอย่างรวดเร็วจะลดความรุนแรงของการเป็นมะเร็งเต้านมได้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสุโสะ ได้ตระหนักถึงการพัฒนากระบวนการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพื่อส่งเสริมการดูแลเฝ้าระวังอุบัติการณ์เกิดโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกลดลงและเป็นหนึ่งในตัวชี้วัดเพื่อเพิ่มศักยภาพการจัดบริการและส่งเสริมการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพของประชาชน จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรอง เฝ้าระวังสตรีไทยให้ปลอดภัยจากโรคมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก โดยมุ่งเน้นให้สตรีทุกคนมีการดูแลและเฝ้าระวังตนเอง พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุข หรือแกนนำสตรีในชุมชนให้มีความรู้และทักษะในการดูแลและเฝ้าระวังมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก เพื่อช่วยเผยแพร่และกระตุ้นเตือนสตรีในชุมชนให้เกิดความตระหนักในการดูแลตนเอง ซึ่งจะส่งผลให้สตรีมีสุขภาพดีและดำเนินวิถีชีวิตให้มีความสุขตลอดไป และพื้นที่ในระดับปฐมภูมิสามารถจัดบริการให้เป็นไปอย่างมีคุณภาพและบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้   ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสุโสะ และกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสุโสะ จึงได้จัดทำโครงการอบรม เฝ้าระวัง มะเร็งในสตรี เพื่อให้สตรีในพื้นที่ได้รับการดูแลและตรวจมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก พร้อมทั้งสตรีที่มีความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อ เพื่อการวินิจฉัยและรักษาที่ถูกต้อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อตรวจคัดกรองและค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก
  2. เพื่อส่งต่อผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติ จากการตรวจคัดกรอง ให้ได้รับการรักษาโรคที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก 2.กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง 3.สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก 4.หากพบความผิดปกติได้ส่งต่อพบแพทย์ทุกราย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

วันที่ 25 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นเตรียมการ 1.สำรวจจัดทำทะเบียนกลุ่มเป้าหมายสตรีในเขตรับผิดชอบ 2.ประชุม ชี้แจง ขั้นตอนในการดำเนินงานแก่ผู้นำในชุมชน อสม. เจ้าหน้าที่ 3.จัดทำโครงการเสนอเพื่อของบประมาณ ขั้นดำเนินการ 1.อบรมแกนนำสตรีให้มีความรู้เรื่อง มะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก ฝึกการตรวจเต้านมด้วยตนเอง โดยใช้แบบจำลอง และสาธิต โดยให้แกนนำมีความรู้ถ่ายทอดแก่เพื่อนบ้านได้ 2.เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 3.ส่งต่อทุกรายที่พบความผิดปกติ ขั้นสรุปผลดำเนินการ 1.สรุปผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก 2.กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง 3.สตรีกลุ่มเป้หมายได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก 4.หากพบความผิดปกติได้ส่งต่อพบแพทย์ทุกราย

 

200 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.อบรมแกนนำสตรีให้มีความรู้เรื่อง มะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก ฝึกการตรวจเต้านมด้วยตนเอง โดยใช้แบบจำลอง และสาธิต โดยให้แกนนำมีความรู้ถ่ายทอดแก่เพื่อนบ้านได้ 2.เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 3.ส่งต่อทุกรายที่พบความผิดปกติ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อตรวจคัดกรองและค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก
200.00 200.00

ร้อยละ 80 สตรีอายุ 30 ปี ขึ้นไปได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

2 เพื่อส่งต่อผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติ จากการตรวจคัดกรอง ให้ได้รับการรักษาโรคที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 พบความผิดปกติได้ส่งต่อพบแพทย์ทุกรายการ
200.00 200.00

ร้อยละ 100 ผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติได้รับการรักษาโรคที่ถูกต้อง

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 200 200
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อตรวจคัดกรองและค้นหาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก (2) เพื่อส่งต่อผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติ จากการตรวจคัดกรอง ให้ได้รับการรักษาโรคที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรอง มะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1487-2-5

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางชลธิชา ปานแดง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด