กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส


“ โครงการคุ้มครองผู้บริโภค สร้างความปลอดภัยการใช้ยาในชุมชน ปีงบประมาณ 2562 ”

ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอารีนา เจ๊ะแม

ชื่อโครงการ โครงการคุ้มครองผู้บริโภค สร้างความปลอดภัยการใช้ยาในชุมชน ปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2535-01-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคุ้มครองผู้บริโภค สร้างความปลอดภัยการใช้ยาในชุมชน ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคุ้มครองผู้บริโภค สร้างความปลอดภัยการใช้ยาในชุมชน ปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคุ้มครองผู้บริโภค สร้างความปลอดภัยการใช้ยาในชุมชน ปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2535-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,475.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 45 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาการใช้ยาไม่สมเหตุสมผลของคนในหมู่บ้าน เป็นปัญหาที่มีความซับซ้อนและมีปัจจัยที่เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องหลายส่วน ทั้งจากตัวผู้ใช้ยาเอง ผู้สั่งใช้ยา ตลอดจนการควบคุมตามกฎหมาย ดังนั้นการดำเนินการจึงต้องใช้มาตรการที่หลากหลายทั้งความร่วมมือของหลายภาคส่วน หลายระดับ โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปาเสมัส ได้ดำเนินมีการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ซึ่งมีหมู่บ้านรับผิดชอบทั้งหมด 4 หมู่บ้าน มีร้านขายของชำ ทั้งหมด 45 ร้าน และจากการสำรวจร้านค้า พบว่ายังมีร้านค้าร้านชำ นำยาที่ไม่ใช่ยาสามัญประจำบ้านและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานผิดกฎหมายมาจำหน่ายให้แก่คนในหมู่บ้าน และจากการสอบถามผู้ประกอบและประชาชนในหมู่บ้านเกี่ยวกับพิษภัยของการใช้ยา พบว่า ไม่มีความรู้และไม่ทราบถึงผลข้างเคียงที่ตามมา ซึ่งจากการดำเนินงานเกี่ยวกับงานคุ้มครองผู้บริโภคตลอดมา ได้ให้คำแนะนำและตรวจสอบอยู่เป็นประจำ แต่ประชาชนในหมู่บ้านยังมีความต้องการในการยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่อันตราย จึงยังมีการจำหน่ายอยู่ในหมู่บ้าน จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปาเสมัสจึงได้จัดทำโครงการคุ้มครองผู้บริโภค สร้างความปลอดภัยการใช้ยาในหมู่บ้าน เพื่อเป็นแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้การขับเคลื่อนกิจกรรมการส่งเสริมการใช้ยาในหมู่บ้านมีความชัดเจนและเฝ้าระวังป้องกันจากการใช้ยา เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา โดยใช้หมู่บ้านเป็นฐานและเน้นการมีส่วนร่วมของคนในหมู่บ้าน
ซึ่งครอบคลุมประเด็นการใช้ยาปฎิชีวนะ ยาชุดและการใช้ยาสเตียรอยด์ โดยไม่จำเป็นเพื่อให้คนในหมู่บ้านมีการพัฒนาการจัดการเรื่องยาให้สมเหตุสมผลและปลอดภัยในระยะยาวต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ประกอบการมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาอย่างปลอดภัย ครอบคลุมทั้ง ยาชุด ยาสเตียรอยด์และยาปฎิชีวนะ อย่างสมเหตุและสมผล
  2. เพื่อร่วมกันเฝ้าระวัง ตรวจสอบแหล่งจำหน่ายยาปฎิชีวนะและยาสเตียรอยด์ในหมู่บ้าน
  3. เพื่อลดปัญหาและผลข้างเคียงจากการใช้ยาการใช้ยาสเตียรอยด์ ยาชุดและยาปฎิชีวนะโดยไม่สมเหตุสมผล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมสร้างความปลอดภัยการใช้ยาในหมู่บ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 45
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 45
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาอย่างปลอดภัย ครอบคลุมทั้ง ยาชุด ยาเสตียรอยด์และ ยาปฎิชีวนะอย่างสมเหตุและสมผล


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมสร้างความปลอดภัยการใช้ยาในหมู่บ้าน

วันที่ 4 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ขั้นเตรียมการ 1.1 ประชุมคณะทำงานเพื่อกำหนดรูปแบบและแนวทางการดำเนินงาน 1.2 เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ 1.3 ประชาสัมพันธ์โครงการโดยใช้ไวนิลเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายทราบ
  2. ขั้นดำเนินการ 2.1 จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านอาหาร , แผงลอยจำหน่ายอาหารและร้านชำ

- อบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านอาหาร , แผงลอยจำหน่ายอาหารและร้านชำ - ผู้เข้าร่วมอบรมทำแบบสอบวัดความรู้ก่อนและหลังการอบรม 2.2 จัดกิจกรรมตรวจประเมินร้านอาหาร, แผงลอยจำหน่ายอาหารและร้านชำ - จัดซื้อชุดทดสอบตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียSI - 2
- จัดซื้อชุดทดสอบยีสและเชื้อราในอาหาร - จัดซื้อชุดทดสอบฟอร์มาลินในอาหาร - จัดซื้อชุดทดสอบบอแรกซ์และสารเคมี ในอาหาร - จัดซื้อชุดทดสอบโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ - จัดซื้อชุดทดสอบหายาฆ่าแมลง - ตรวจประเมินร้านอาหาร,แผงลอยจำหน่ายอาหารและร้านชำ 3. ขั้นการประเมินผล 3.1 ผู้ประกอบการร้านอาหาร , แผงลอยจำหน่ายอาหารและร้านชำมีความรู้เพิ่มขึ้น
3.2 ร้านอาหาร,แผงลอยจำหน่ายอาหารและร้านชำได้รับการตรวจประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน 3.3ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์ CFGT
3.4 สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้ประกอบการร้านอาหาร , แผงลอยจำหน่ายอาหารและร้านชำสามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาร้านของตนเอง
  2. ร้านอาหาร,แผงลอยจำหน่ายอาหารและร้านชำในตำบลปูโยะจำหน่ายอาหารและสินค้าที่ปลอดภัย ต่อผู้บริโภค
  3. ร้านอาหาร,แผงลอยจำหน่ายอาหารและร้านชำได้รับการตรวจประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน
  4. มีการเฝ้าระวังการโฆษณาเกินจริงโดยเครือข่ายในชุมชน

 

45 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ประกอบการมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาอย่างปลอดภัย ครอบคลุมทั้ง ยาชุด ยาสเตียรอยด์และยาปฎิชีวนะ อย่างสมเหตุและสมผล
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อร่วมกันเฝ้าระวัง ตรวจสอบแหล่งจำหน่ายยาปฎิชีวนะและยาสเตียรอยด์ในหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อลดปัญหาและผลข้างเคียงจากการใช้ยาการใช้ยาสเตียรอยด์ ยาชุดและยาปฎิชีวนะโดยไม่สมเหตุสมผล
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 45
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 45
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ประกอบการมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาอย่างปลอดภัย ครอบคลุมทั้ง ยาชุด ยาสเตียรอยด์และยาปฎิชีวนะ อย่างสมเหตุและสมผล (2) เพื่อร่วมกันเฝ้าระวัง ตรวจสอบแหล่งจำหน่ายยาปฎิชีวนะและยาสเตียรอยด์ในหมู่บ้าน (3) เพื่อลดปัญหาและผลข้างเคียงจากการใช้ยาการใช้ยาสเตียรอยด์ ยาชุดและยาปฎิชีวนะโดยไม่สมเหตุสมผล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมสร้างความปลอดภัยการใช้ยาในหมู่บ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคุ้มครองผู้บริโภค สร้างความปลอดภัยการใช้ยาในชุมชน ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2535-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอารีนา เจ๊ะแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด