เยาวชนศรีสว่างวงศ์ยุคใหม่ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม พร้อมพิชิตยุงลาย ด้วยการใช้สมุนไพรไทย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ เยาวชนศรีสว่างวงศ์ยุคใหม่ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม พร้อมพิชิตยุงลาย ด้วยการใช้สมุนไพรไทย ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายวิวัฒน์ไชย สุนทรวิภาต
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
สิงหาคม 2562
ชื่อโครงการ เยาวชนศรีสว่างวงศ์ยุคใหม่ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม พร้อมพิชิตยุงลาย ด้วยการใช้สมุนไพรไทย
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-2-30 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"เยาวชนศรีสว่างวงศ์ยุคใหม่ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม พร้อมพิชิตยุงลาย ด้วยการใช้สมุนไพรไทย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เยาวชนศรีสว่างวงศ์ยุคใหม่ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม พร้อมพิชิตยุงลาย ด้วยการใช้สมุนไพรไทย
บทคัดย่อ
โครงการ " เยาวชนศรีสว่างวงศ์ยุคใหม่ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม พร้อมพิชิตยุงลาย ด้วยการใช้สมุนไพรไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-2-30 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 61,965.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปริมาณขยะมูลฝอยภายในโรงเรียน และชุมชนที่นักเรียนอาศัยอยู่เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่กำลัง
ทวีความรุนแรง เพราะนับวันจะมีปริมาณเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ สอดคล้องกับการขยายตัวของชุมชนเมือง และการเจริญเติบโต
ทางเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดปัญหาเพิ่มมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม เช่น ปัญหากลิ่นเหม็น ปัญหา
น้ำเสีย ปัญหาสุขภาพ ก่อให้เกิดทัศนียภาพที่ไม่สวยงาม และนำไปสู่การเกิดโรคต่างๆ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคอุจจาระร่วง โรคตาแดง เป็นต้น ซึ่งแหล่งกำเนิดขยะมูลฝอยที่สำคัญคือ โรงเรียน บ้านพักอาศัย ตลาด ฯลฯ อีกทั้งพฤติกรรมและการกระทำของมนุษย์ยังมีทัศนคติที่มองว่า ขยะเป็นเพียงสิ่งที่ไม่ต้องการและจะนำไปกำจัดอย่างไรก็ได้ และเคยชินกับการทิ้งขยะแบบง่ายๆ ปะปนไปกับเศษอาหาร เศษกระดาษ พลาสติก เศษแก้ว กระป๋อง โลหะต่างๆ เป็นต้น
สภาพปัญหาขยะในโรงเรียนปัจจุบันพบว่า นับวันจะมีเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ และยังมีระบบการคัดแยกขยะ
ที่ยังไม่ถูกวิธี ขยะเพิ่มในปริมาณมากขึ้น หากมีการบริหารจัดการเกี่ยวกับขยะที่ไม่ดีก็จะทำให้ขยะเหล่านั้นหมักหมฺม เน่าเหม็น เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง และเชื้อโรคต่างๆ ส่งผลให้สภาพแวดล้อมเป็นพิษ อีกทั้งยังเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดมลพิษทางน้ำ ทางดิน และทางอากาศ และอาจส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของนักเรียน ครู และบุคลากร
ในโรงเรียนได้ในที่สุด
โรงเรียนศรีสว่างวงศ์ เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวแล้ว จึงได้จัดทำโครงการ “เยาวชนศรีสว่างวงศ์ยุคใหม่ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม พร้อมพิชิตยุงลาย ด้วยการใช้สมุนไพรไทย” เพื่อให้นักเรียนโดยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครู สามารถจัดการกับขยะได้อย่างถูกวิธี มีการป้องกันโรคด้วยการกำจัดสาเหตุและที่มาของปัญหาอีกทั้ง
ให้นักเรียนสามารถนำสมุนไพรใกล้ตัว ซึ่งเป็นภูมิปัญญาในท้องถิ่นมาทำเป็นผลิตภัณฑ์ในการป้องกันโรคได้ด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการคัดแยกขยะมูลฝอยอย่างถูกวิธี
- เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและพาหะนำโรคต่างๆ
- เพื่อสุขภาวะที่ดีของนักเรียน บุคลากรในโรงเรียน และชุมชนโดยรอบ
- เพื่อให้นักเรียนสามารถนำสิ่งของเหลือใช้หรือขยะมารีไซเคิลให้เกิดประโยชน์ได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สื่อสารและประชาสัมพันธ์
- SSV.สารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย
- การอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับการคัดแยกขยะและการรีไซเคิล
- ผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย ต้านภัยยุงร้าย
- สรุปผลการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กิจกรรม ๑ (การอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และการรีไซเคิล)
๑) มีการคัดแยกขยะมูลฝอยอย่างถูกวิธี
๒) สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่างๆ ได้
๓) นักเรียนมีสุขภาวะที่ดี
๔) นักเรียนรู้จักนำสิ่งของเหลือใช้หรือขยะมารีไซเคิลให้เกิดประโยชน์
กิจกรรม ๒ (SSV. สารวัตรปราบยุงลาย)
๑) สามารถลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกได้
๒) นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม ในการป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก
๓) นักเรียน ผู้ปกครอง ความร่วมมือและมีส่วนร่วมในการดำเนินการควบคุม และป้องกัน โรคไข้เลือดออก
๔) ทำให้ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
ทำให้สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายภายในโรงเรียน บ้าน ชุมชนให้ลดน้อยลง
๕) ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในโรงเรียน และบ้าน (Container Index = 0) และบริเวณโรงเรียน/บ้าน (School - House Index = 0)
กิจกรรม ๓ (ผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย ต้านภัยยุงร้าย)
๑) มีการถ่ายทอดภูมิปัญญาด้านการผลิตสมุนไพรไล่ยุงสู่นักเรียนแกนนำ
๒) สามารถอนุรักษ์พืชสมุนไพรไล่ยุงจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
๓) นักเรียนสามารถค้นหา และใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในทางป้องกันโรค ได้ผลิตภัณฑ์ ๓ ลักษณะคือ
ธูปหอมกันยุง สเปรย์ไล่ยุง และยาหม่องกันยุง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. SSV.สารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย
วันที่ 3 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
-จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ
-ทดสอบความรู้ก่อนและหลัง
-ให้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับวงจรชีวิตของยุงลาย
-แหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย
-สาธิตการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย
-กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายโดยสารวัตรนักเรียนปราบยุงลาย
-ติดตามและประเมินความพึงพอใจ
-สรุปผลการดำเนินกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นร.จำนวน 60 คน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลูกน้ำยุงลาย อันเป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออก และกาป้องกัน/ควบคุมทำลายลูกน้ำยุงลายที่ถูกวิธีและเหมาะสม
-ประเมินแบบทดสอบความรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการทั้งก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ
-ผลการสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายลดลง
-ประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการพบว่า ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจคิดเป็น 4.75 ฮยุ่ในระดับค่าเฉลี่ยมากที่สุด
60
0
2. สื่อสารและประชาสัมพันธ์
วันที่ 5 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
ติดป้ายประชาสัมพันธ์เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนทราบถึงกิจกรรมที่จะจัดขึ้น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนกลุ่มเป้าหมายรับทราบและให้ความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรม
0
0
3. สรุปผลการดำเนินงาน
วันที่ 15 ตุลาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
เตรียมเอกสารสรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เอกสารฉบับสมบูรณ์ 2 เล่ม
0
0
4. ผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย ต้านภัยยุงร้าย
วันที่ 15 ตุลาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
-ทดสอบความรู้ก่อนและหลังอบรมเชิงปฏิบัติการ
-ให้ความรู้เรื่องสมันไพรไทยชนิดต่างๆที่มีฤทธิ์สามารถนำมาสกัดเป็นยาป้องกันยุงได้
-ให้ความรู้เรื่องวิธีการนำสมุนไพรไทยชนิดต่างๆที่มีฤทธิ์สามารถนำมาสกัดเป็นยาป้องกันยุงได้
-แบ่งกลุ่มนร.ทดลองทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย ต้ายภัยยุงร้าย เ็นกลุ่มต่างๆดังนี้
-ธูปหอมกันยุง
-สเปรย์กันยุง
-ยาหม่องกันยุง
-สาธิตและทดลองใช้ผลิตภัณฑ์
-สรุปและรายงานผล
-ติดตามและประเมินความพึงพอใจ
-สรุปการดำเนินกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นร.ทั้ง 60 คน มีความรู้ และสามารถตอบคำถามเกี่ยวกับสมุนไพรที่สามารถนำมาใช้ทดแทนสารเคมีได้ทุกคน
นร.สามารถลงมือปฏิบัติกิจกรรมทดลองทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรกันยุง 3 ชนิด
1.ยาหม่องน้ำกันยุง
2.ธูปหอมกันยุง
3.สเปรย์สมุนไพรกันยุง
60
0
5. การอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับการคัดแยกขยะและการรีไซเคิล
วันที่ 15 ตุลาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
-ทดสอบความรู้ก่อนและหลัง
-ให้ความรู้เรื่องขยะ
-การคีดแยกขยะที่ถูกต้อง
-ให้ความรู้เรื่องผลกระทบของขยะต่อสิ่งแวดล้อมกับโรคภัยต่างๆ
-สาธิตการคัดแยกขยะ
-กิจกรรมคัดแยกขยะ และพัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
-นิเทศติดตาม และประเมินความพึงพอใจ
-สรุปการดำเนินกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นร.ทั้ง 60 คน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการคัดแยกขยะมูลฝอยอย่างถูกวิธี การลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและพาหะนำโรคต่างๆทำให้เกิดสุุขภาวะที่ดีแก่นร.และบุคลากรภายในรร.และสามารถนำสิ่งของเหลือใช้หรือขยะรีไซเคิลให้เกิดประโยชน์
จากการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ คิดเป็นร้อยละ 4.75 อยู่ในระดับค่าเฉลี่ยมากที่สุด
60
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการคัดแยกขยะมูลฝอยอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการคัดแยกขยะและกำจัดขยะ ร้อยละ ๘๐
0.00
2
เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและพาหะนำโรคต่างๆ
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีพฤติกรรมในการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง ร้อยละ ๘๐
0.00
3
เพื่อสุขภาวะที่ดีของนักเรียน บุคลากรในโรงเรียน และชุมชนโดยรอบ
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีพฤติกรรมในการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง ร้อยละ ๘๐
0.00
4
เพื่อให้นักเรียนสามารถนำสิ่งของเหลือใช้หรือขยะมารีไซเคิลให้เกิดประโยชน์ได้
ตัวชี้วัด : นักเรียนรู้จักนำสิ่งของเหลือใช้หรือขยะมารีไซเคิลให้เกิดประโยชน์ ร้อยละ ๖๐
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการคัดแยกขยะมูลฝอยอย่างถูกวิธี (2) เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและพาหะนำโรคต่างๆ (3) เพื่อสุขภาวะที่ดีของนักเรียน บุคลากรในโรงเรียน และชุมชนโดยรอบ (4) เพื่อให้นักเรียนสามารถนำสิ่งของเหลือใช้หรือขยะมารีไซเคิลให้เกิดประโยชน์ได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สื่อสารและประชาสัมพันธ์ (2) SSV.สารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย (3) การอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับการคัดแยกขยะและการรีไซเคิล (4) ผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย ต้านภัยยุงร้าย (5) สรุปผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
เยาวชนศรีสว่างวงศ์ยุคใหม่ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม พร้อมพิชิตยุงลาย ด้วยการใช้สมุนไพรไทย จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-2-30
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายวิวัฒน์ไชย สุนทรวิภาต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ เยาวชนศรีสว่างวงศ์ยุคใหม่ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม พร้อมพิชิตยุงลาย ด้วยการใช้สมุนไพรไทย ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายวิวัฒน์ไชย สุนทรวิภาต
สิงหาคม 2562
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-2-30 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"เยาวชนศรีสว่างวงศ์ยุคใหม่ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม พร้อมพิชิตยุงลาย ด้วยการใช้สมุนไพรไทย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เยาวชนศรีสว่างวงศ์ยุคใหม่ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม พร้อมพิชิตยุงลาย ด้วยการใช้สมุนไพรไทย
บทคัดย่อ
โครงการ " เยาวชนศรีสว่างวงศ์ยุคใหม่ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม พร้อมพิชิตยุงลาย ด้วยการใช้สมุนไพรไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-2-30 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 61,965.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปริมาณขยะมูลฝอยภายในโรงเรียน และชุมชนที่นักเรียนอาศัยอยู่เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่กำลัง
ทวีความรุนแรง เพราะนับวันจะมีปริมาณเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ สอดคล้องกับการขยายตัวของชุมชนเมือง และการเจริญเติบโต
ทางเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดปัญหาเพิ่มมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม เช่น ปัญหากลิ่นเหม็น ปัญหา
น้ำเสีย ปัญหาสุขภาพ ก่อให้เกิดทัศนียภาพที่ไม่สวยงาม และนำไปสู่การเกิดโรคต่างๆ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคอุจจาระร่วง โรคตาแดง เป็นต้น ซึ่งแหล่งกำเนิดขยะมูลฝอยที่สำคัญคือ โรงเรียน บ้านพักอาศัย ตลาด ฯลฯ อีกทั้งพฤติกรรมและการกระทำของมนุษย์ยังมีทัศนคติที่มองว่า ขยะเป็นเพียงสิ่งที่ไม่ต้องการและจะนำไปกำจัดอย่างไรก็ได้ และเคยชินกับการทิ้งขยะแบบง่ายๆ ปะปนไปกับเศษอาหาร เศษกระดาษ พลาสติก เศษแก้ว กระป๋อง โลหะต่างๆ เป็นต้น
สภาพปัญหาขยะในโรงเรียนปัจจุบันพบว่า นับวันจะมีเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ และยังมีระบบการคัดแยกขยะ
ที่ยังไม่ถูกวิธี ขยะเพิ่มในปริมาณมากขึ้น หากมีการบริหารจัดการเกี่ยวกับขยะที่ไม่ดีก็จะทำให้ขยะเหล่านั้นหมักหมฺม เน่าเหม็น เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง และเชื้อโรคต่างๆ ส่งผลให้สภาพแวดล้อมเป็นพิษ อีกทั้งยังเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดมลพิษทางน้ำ ทางดิน และทางอากาศ และอาจส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของนักเรียน ครู และบุคลากร
ในโรงเรียนได้ในที่สุด
โรงเรียนศรีสว่างวงศ์ เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวแล้ว จึงได้จัดทำโครงการ “เยาวชนศรีสว่างวงศ์ยุคใหม่ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม พร้อมพิชิตยุงลาย ด้วยการใช้สมุนไพรไทย” เพื่อให้นักเรียนโดยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครู สามารถจัดการกับขยะได้อย่างถูกวิธี มีการป้องกันโรคด้วยการกำจัดสาเหตุและที่มาของปัญหาอีกทั้ง
ให้นักเรียนสามารถนำสมุนไพรใกล้ตัว ซึ่งเป็นภูมิปัญญาในท้องถิ่นมาทำเป็นผลิตภัณฑ์ในการป้องกันโรคได้ด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการคัดแยกขยะมูลฝอยอย่างถูกวิธี
- เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและพาหะนำโรคต่างๆ
- เพื่อสุขภาวะที่ดีของนักเรียน บุคลากรในโรงเรียน และชุมชนโดยรอบ
- เพื่อให้นักเรียนสามารถนำสิ่งของเหลือใช้หรือขยะมารีไซเคิลให้เกิดประโยชน์ได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สื่อสารและประชาสัมพันธ์
- SSV.สารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย
- การอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับการคัดแยกขยะและการรีไซเคิล
- ผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย ต้านภัยยุงร้าย
- สรุปผลการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กิจกรรม ๑ (การอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และการรีไซเคิล)
๑) มีการคัดแยกขยะมูลฝอยอย่างถูกวิธี
๒) สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่างๆ ได้
๓) นักเรียนมีสุขภาวะที่ดี
๔) นักเรียนรู้จักนำสิ่งของเหลือใช้หรือขยะมารีไซเคิลให้เกิดประโยชน์
กิจกรรม ๒ (SSV. สารวัตรปราบยุงลาย)
๑) สามารถลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกได้
๒) นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม ในการป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก
๓) นักเรียน ผู้ปกครอง ความร่วมมือและมีส่วนร่วมในการดำเนินการควบคุม และป้องกัน โรคไข้เลือดออก
๔) ทำให้ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
ทำให้สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายภายในโรงเรียน บ้าน ชุมชนให้ลดน้อยลง
๕) ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในโรงเรียน และบ้าน (Container Index = 0) และบริเวณโรงเรียน/บ้าน (School - House Index = 0)
กิจกรรม ๓ (ผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย ต้านภัยยุงร้าย)
๑) มีการถ่ายทอดภูมิปัญญาด้านการผลิตสมุนไพรไล่ยุงสู่นักเรียนแกนนำ
๒) สามารถอนุรักษ์พืชสมุนไพรไล่ยุงจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
๓) นักเรียนสามารถค้นหา และใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในทางป้องกันโรค ได้ผลิตภัณฑ์ ๓ ลักษณะคือ
ธูปหอมกันยุง สเปรย์ไล่ยุง และยาหม่องกันยุง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. SSV.สารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย |
||
วันที่ 3 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ-จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ -ทดสอบความรู้ก่อนและหลัง -ให้ความรู้เรื่องเกี่ยวกับวงจรชีวิตของยุงลาย -แหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย -สาธิตการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลาย -กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายโดยสารวัตรนักเรียนปราบยุงลาย -ติดตามและประเมินความพึงพอใจ -สรุปผลการดำเนินกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนร.จำนวน 60 คน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลูกน้ำยุงลาย อันเป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออก และกาป้องกัน/ควบคุมทำลายลูกน้ำยุงลายที่ถูกวิธีและเหมาะสม -ประเมินแบบทดสอบความรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการทั้งก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ -ผลการสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายลดลง -ประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการพบว่า ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจคิดเป็น 4.75 ฮยุ่ในระดับค่าเฉลี่ยมากที่สุด
|
60 | 0 |
2. สื่อสารและประชาสัมพันธ์ |
||
วันที่ 5 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำติดป้ายประชาสัมพันธ์เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนทราบถึงกิจกรรมที่จะจัดขึ้น ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนกลุ่มเป้าหมายรับทราบและให้ความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรม
|
0 | 0 |
3. สรุปผลการดำเนินงาน |
||
วันที่ 15 ตุลาคม 2562กิจกรรมที่ทำเตรียมเอกสารสรุปผลการดำเนินงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเอกสารฉบับสมบูรณ์ 2 เล่ม
|
0 | 0 |
4. ผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย ต้านภัยยุงร้าย |
||
วันที่ 15 ตุลาคม 2562กิจกรรมที่ทำ-ทดสอบความรู้ก่อนและหลังอบรมเชิงปฏิบัติการ -ให้ความรู้เรื่องสมันไพรไทยชนิดต่างๆที่มีฤทธิ์สามารถนำมาสกัดเป็นยาป้องกันยุงได้ -ให้ความรู้เรื่องวิธีการนำสมุนไพรไทยชนิดต่างๆที่มีฤทธิ์สามารถนำมาสกัดเป็นยาป้องกันยุงได้ -แบ่งกลุ่มนร.ทดลองทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย ต้ายภัยยุงร้าย เ็นกลุ่มต่างๆดังนี้ -ธูปหอมกันยุง -สเปรย์กันยุง -ยาหม่องกันยุง -สาธิตและทดลองใช้ผลิตภัณฑ์ -สรุปและรายงานผล -ติดตามและประเมินความพึงพอใจ -สรุปการดำเนินกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนร.ทั้ง 60 คน มีความรู้ และสามารถตอบคำถามเกี่ยวกับสมุนไพรที่สามารถนำมาใช้ทดแทนสารเคมีได้ทุกคน นร.สามารถลงมือปฏิบัติกิจกรรมทดลองทำผลิตภัณฑ์สมุนไพรกันยุง 3 ชนิด 1.ยาหม่องน้ำกันยุง 2.ธูปหอมกันยุง 3.สเปรย์สมุนไพรกันยุง
|
60 | 0 |
5. การอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับการคัดแยกขยะและการรีไซเคิล |
||
วันที่ 15 ตุลาคม 2562กิจกรรมที่ทำ-ทดสอบความรู้ก่อนและหลัง -ให้ความรู้เรื่องขยะ -การคีดแยกขยะที่ถูกต้อง -ให้ความรู้เรื่องผลกระทบของขยะต่อสิ่งแวดล้อมกับโรคภัยต่างๆ -สาธิตการคัดแยกขยะ -กิจกรรมคัดแยกขยะ และพัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน -นิเทศติดตาม และประเมินความพึงพอใจ -สรุปการดำเนินกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนร.ทั้ง 60 คน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการคัดแยกขยะมูลฝอยอย่างถูกวิธี การลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและพาหะนำโรคต่างๆทำให้เกิดสุุขภาวะที่ดีแก่นร.และบุคลากรภายในรร.และสามารถนำสิ่งของเหลือใช้หรือขยะรีไซเคิลให้เกิดประโยชน์ จากการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ คิดเป็นร้อยละ 4.75 อยู่ในระดับค่าเฉลี่ยมากที่สุด
|
60 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการคัดแยกขยะมูลฝอยอย่างถูกวิธี ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการคัดแยกขยะและกำจัดขยะ ร้อยละ ๘๐ |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและพาหะนำโรคต่างๆ ตัวชี้วัด : นักเรียนมีพฤติกรรมในการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง ร้อยละ ๘๐ |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อสุขภาวะที่ดีของนักเรียน บุคลากรในโรงเรียน และชุมชนโดยรอบ ตัวชี้วัด : นักเรียนมีพฤติกรรมในการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง ร้อยละ ๘๐ |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อให้นักเรียนสามารถนำสิ่งของเหลือใช้หรือขยะมารีไซเคิลให้เกิดประโยชน์ได้ ตัวชี้วัด : นักเรียนรู้จักนำสิ่งของเหลือใช้หรือขยะมารีไซเคิลให้เกิดประโยชน์ ร้อยละ ๖๐ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการคัดแยกขยะมูลฝอยอย่างถูกวิธี (2) เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและพาหะนำโรคต่างๆ (3) เพื่อสุขภาวะที่ดีของนักเรียน บุคลากรในโรงเรียน และชุมชนโดยรอบ (4) เพื่อให้นักเรียนสามารถนำสิ่งของเหลือใช้หรือขยะมารีไซเคิลให้เกิดประโยชน์ได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สื่อสารและประชาสัมพันธ์ (2) SSV.สารวัตรปราบลูกน้ำยุงลาย (3) การอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับการคัดแยกขยะและการรีไซเคิล (4) ผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย ต้านภัยยุงร้าย (5) สรุปผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
เยาวชนศรีสว่างวงศ์ยุคใหม่ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม พร้อมพิชิตยุงลาย ด้วยการใช้สมุนไพรไทย จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-2-30
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายวิวัฒน์ไชย สุนทรวิภาต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......