กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชุมชมร่วมใจต้านภัยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
รหัสโครงการ 3/2562
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.ลิดล
วันที่อนุมัติ 25 ธันวาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 21 กุมภาพันธ์ 2562 - 20 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 37,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิดล
พี่เลี้ยงโครงการ อุสมาน แวหะยี
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลลิดล อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.551,101.166place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 4 เม.ย. 2562 14 มิ.ย. 2562 37,000.00
2 0.00
รวมงบประมาณ 37,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การป่วยด้วยโรคเรื้อรังกำลังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของทั่วโลกและประเทศไทย การเจ็บป่วยเรื้อรังเป็นภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลง มีผลกระทบต่อกระบวนการพัฒนาของบุคคลที่เกิดขึ้นอย่างถาวรไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ทำให้การดำเนินชีวิตเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม สังคม ครอบครัวต้องรับภาระดูแลผุ้ป่วย ส่งผลให้การดำเนินชีวิตของสมาชิกในครอบครัวเปลี่ยนแปลง ถ้าหากการดูแลผู้ป่วยใช้เวลายาวนานทำให้ต้องสูญเสียทรัพยากรบุคคลและเศรษฐิจ โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากพฤติกรรมและวิถีการรดำเนินชีวิตซึ่งสามารถป้องกันและปรับเปลี่ยนได้ วึ่งพบว่ามีอันตราอุถบัติการณ์เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในประเทศที่กำลังพัฒนา จากผลการคัดกรองสุขภาพโดยอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลิดล ปีงบประมาณ ื2561 ในประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ตำบลลิดล 1771 คน พบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 431 คน คิดเป็นร้อยละ 24.34 ซึ่งกลุ่มเสี่ยงเหล่านี้หากยังคงพฟติกรรมเสี่ยงต่อไป ถ้าหากการดูแลผู้ป่วยใช้เวลายาวนานทำให้ต้องสูญเสียทรัพยากรบุคคลและเศรษฐกิจ โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากพฤติกรรมและวิถีการดำเนินชีวิตซึ่งสามารถป้องกันและปรับเปลี่ยนได้ วึ่งพบว่ามีอัตราอุบัติการณ์เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในประเทศที่กำลังพัฒนา จากผลการคัดกรองสุขภาพโดยอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลลิดล ปีงบประมาณ 2561 ในประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ตำบลลิดล จำนวน 1771 คน พบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 431 คน คิดเเป็นร้อยละ 24.34 ซึ่งกลุ่มเสี่ยงเหล่านี้หากยังคงพฤติกรรมเสี่ยงต่อไป อาจกลายเป็นกลุ่มป่วยโรคเรื้อรังในอนาคตต่อไป ดังนั้นเพื่อพัฒนาระบบการบริการด้านการส่งเสริมป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง ทั้งในกลุ่มผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมส่งเสริมสุขภาพตำบลลิดลจึงจะได้ทำโฑครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยโรคเบาหวาน และ ความดันโลหิตสูงปี 2562 ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วย มีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้นอน่างน้อยร้อยละ 30

ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมโครงการ สามารถควบคุมโรคได้ อย่างน้อยร้อยละ 70

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วย มีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้นอน่างน้อยร้อยละ 30

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

4 เม.ย. 62 โครงการชุมชนร่วมใจด้านภัยโคคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 100.00 37,000.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

-ตรวจสุขภาพกลุ่มเป้าหมาย -จัดอบรมเชิญปฏิบัติการแก่กลุ่มเป้าหมายโดยแยกเป็น 2 รุ่นคือ รุ่นที่ 1 กลุ่มเสี่ยงจำนวน 50 คนและ รุ่นที่ 2 ได้แก่ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 50 คน รวมทั้งหมด 100 คนโดยจัดอบรม 2 ครั้ง
ครั้งที่ 1 เน้นความรู้เรื่องโรคเรื้อรัง แนวปฏิบัติในการป้องกันโรคเรื้อรัง และป้องกัน ภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคคความดันโลกหิตสูง เมื่ออบรมครบ 1 เดือน มีการประเมินพฤติกรรมสุขภาพและจัดกลุ่มเป้าหมายออกเป็น 3 กลุ่ม คือเสี่ยงต่ำ เสี่ยงปากกลาง และเสี่ยง -ครั้งที่ 2 คัดเลือดกลุ่มที่มีพฤติกรรมเสี่ยงปานกลาง และเสี่ยงสูงจำนวน 50 คน เข้าอบรม โดยแบ่งเป้น 2 รุ่นๆ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กลุ่มเป้าหมาย มีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น อย่างน้อยร้อยละ 50 กลุ่มเป้าหมาย มีภาวะสุขภาพดีขึ้น อย่างน้อยร้อยละ 20 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมโครงการ สามารถควบคุมโรคได้ อย่างน้อยร้อยละ 70

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 ก.พ. 2562 14:00 น.