กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี


“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กก่อนวัยเรียน ”

ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางนัฐญา ขุนทอง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กก่อนวัยเรียน

ที่อยู่ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5200-3-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มกราคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กก่อนวัยเรียน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กก่อนวัยเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กก่อนวัยเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5200-3-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มกราคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

รัฐบาลไทยได้กำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์สำหรับพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัยตามช่วงวัย โดยให้กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงกลาโหม รวมถึงองค์กรหลักอื่นๆ และกระทรวงที่เกี่ยวข้อง ร่วมรับผิดชอบช่วยผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายเด็กปฐมวัย ไปสู่การปฏิบัติให้เกิดสัมฤทธิ์ผลตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งประสานความร่วมมือกันจากทุกภาคส่วนของสังคม โดยเน้นให้ครอบครัวเป็นแกนหลักในการพัฒนาเด็กและให้ชุมชนและสังคมเป็นฐานที่มีส่วนร่วมอย่างแท้จริงในการพัฒนาเลี้ยงดูเด็กทุกขั้นตอน ให้มีคุณภาพทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา เติบโตขึ้นเป็นคนไทยที่พึงประสงค์เพื่อเป็นทั้ง คนดี คนเก่ง มีความสุข และเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพของประเทศชาติ แต่สถานการณ์ปัญหาพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย (0-5 ปี) ที่ผ่านมากลับพบว่า เด็กปฐมวัยร้อยละ 30 หรือ 1 ใน 3 ของเด็กปฐมวัย ในประเทศไทยมีแนวโน้มพัฒนาการล่าช้า โดยเฉพาะด้านการใช้ภาษา รองลงมาคือการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ซึ่งทักษะทั้งสองด้านเป็นส่วนสำคัญต่อการพัฒนาสมองและจะส่งผลต่อการเรียนรู้ต่อไป
    จากการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย (อายุ 0 - 5 ปี) เมื่อ พ.ศ. 2557 พบว่า เด็กอายุ0 - 2 ปี
มีพัฒนาการล่าช้า 22% และเด็กอายุ 3 - 5 ปี มีพัฒนาการล่าช้า 34% ปัจจัยสำคัญคือความล่าช้าทางด้านภาษา ส่งผลให้การเรียนไม่มีประสิทธิภาพ เด็กไทย ป.4 - ป.6 ประมาณ 10 - 15% จึงอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้และคิดไม่เป็น และอาจเป็นสาเหตุที่ทำให้ได้ผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพด้อยกว่าที่ควร เด็กอายุ 3 - 5 ปี ส่วนใหญ่อยู่ในศูนย์เด็กเล็กที่พ่อแม่เอาไปฝากเลี้ยง ผู้ดูแลเด็กได้รับค่าตอบแทนต่ำ และภาษาที่ 2 ไม่ได้รับการเอาใจใส่ ที่น่าเป็นห่วงยิ่งกว่าคือยังมีเด็กอีกหลายคนไม่มีโอกาสได้เข้าไปอยู่ในศูนย์เด็กเล็ก โดยเฉพาะเด็กที่ถูกพ่อแม่ทิ้งให้ปู่ย่า ตา ยาย เลี้ยงดูอย่างขาดความรู้สอดคล้องกับหลักฐานที่ระบุว่าพัฒนาการล่าช้าส่วนใหญ่เป็นผลกระทบจากความเครียดรุนแรง (Toxic Stress) ที่เกิดจากการที่เด็ก ถูกทอดทิ้งหรือทำร้ายร่างกาย การลงทุนของท้องถิ่นและรัฐบาลเพื่อป้องกันแก้ไขสาเหตุ และส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยอย่างมีประสิทธิภาพ ได้รับการพิสูจน์แล้วว่ามีผลดีต่อการสร้างคนที่มีประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติอย่างมาก การฝึกสอนให้เด็กมีความรู้อย่างเดียวไม่พอ เด็กต้องมีความเฉลียวฉลาด อุปกรณ์ประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย DSPM นี้จึงมีการฝึกทักษะ EF (Executive Functions) เป็นกระบวนการทางความคิด (Mental process) ในสมองส่วนหน้า ที่เกี่ยวข้องกับการคิด ความรู้สึก และการกระทำ เช่น การยั้งใจคิดไตร่ตรอง การควบคุมอารมณ์ การยืดหยุ่นทางความคิด การตั้งเป้าหมาย วางแผน ความมุ่งมั่น การจดจำและเรียกใช้ข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดลำดับความสำคัญของเรื่องต่างๆ และการทำสิ่งต่างๆ อย่างเป็นขั้นเป็นตอนจนบรรลุความสำเร็จ ซึ่งเป็นทักษะที่มนุษย์เราทุกคนต้องใช้ มีความสำคัญยิ่งต่อทั้งความสำเร็จในการเรียน การทำงาน รวมทั้งการมีชีวิตครอบครัว ทักษะ EF นี้นักวิชาการระดับโลกชี้แล้วว่า สำคัญกว่า IQ เพื่อให้เด็กได้มีพัฒนาการที่สมวัย มีการเรียนรู้ที่เหมาะสมตามวัย ไม่ได้เกิดการพัฒนาการล่าช้า ศูนย์พัฒนาการศึกษาปฐมวัยเทศบาลตำบลนาทวี ได้ตระหนักและมองเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวข้างต้น หากไม่ดำเนินการจะส่งผลให้การเรียนไม่มีประสิทธิภาพ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ เมื่อเข้าเรียนในระดับประถมศึกษา จึงได้ร่วมมือกับผู้ปกครอง จัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กก่อนวัยเรียน เพื่อเป็นการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองผ่านกิจกรรมการสาธิตการคัดกรองและประเมินพัฒนาการเด็กตามเครื่องมือตัวชี้วัดตามคู่มือเฝ้าระวังและการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ดำเนินการคัดกรองและประเมินพัฒนาการเด็กที่บกพร่องในพัฒนาการ เพื่อส่งต่อไปยังโรงพยาบาลใกล้เคียงเพื่อรับการแก้ปัญหาต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย
  2. เพื่อให้เด็กที่สงสัยว่าอาจมีความบกพร่องในพัฒนาการ ได้รับการส่งต่อเพื่อแก้ไขปัญหาได้ทันเวลา
  3. เพื่อให้ผู้ปกครองและครู มีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามช่วงวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย
    2. เด็กที่สงสัยว่าอาจมีความบกพร่องในพัฒนาการ ได้รับการส่งต่อเพื่อแก้ไขปัญหาได้ทันเวลา
    3. ผู้ปกครองและครู มีความรู้ความเข้าใจและเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามช่วงวัยในแต่ละด้าน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้เด็กได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย
    ตัวชี้วัด : เด็กได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
    0.00

     

    2 เพื่อให้เด็กที่สงสัยว่าอาจมีความบกพร่องในพัฒนาการ ได้รับการส่งต่อเพื่อแก้ไขปัญหาได้ทันเวลา
    ตัวชี้วัด : เด็กที่สงสัยว่าอาจมีพัฒนาการล่าช้า ได้รับการติดตามคัดกรองซ้ำ ภายใน 1 เดือน ร้อยละ 100
    0.00

     

    3 เพื่อให้ผู้ปกครองและครู มีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามช่วงวัย
    ตัวชี้วัด : - ผู้ปกครองและครูมีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามวัย ร้อยละ 80 - ผู้ปกครองและครู สามารถฝึกและกระตุ้นเด็กได้ตามปัญหาที่พบเฉพาะด้านได้ ร้อยละ 70
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย (2) เพื่อให้เด็กที่สงสัยว่าอาจมีความบกพร่องในพัฒนาการ ได้รับการส่งต่อเพื่อแก้ไขปัญหาได้ทันเวลา (3) เพื่อให้ผู้ปกครองและครู มีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามช่วงวัย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กก่อนวัยเรียน จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 62-L5200-3-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนัฐญา ขุนทอง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด