กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลานข่อย


“ หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็ง หัวใจและหลอดเลือด ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง ”

ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายแผ้ว กรรณราย

ชื่อโครงการ หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็ง หัวใจและหลอดเลือด ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

ที่อยู่ ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3348-2-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 ธันวาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็ง หัวใจและหลอดเลือด ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลานข่อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็ง หัวใจและหลอดเลือด ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง



บทคัดย่อ

โครงการ " หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็ง หัวใจและหลอดเลือด ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 62-L3348-2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 ธันวาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 77,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลานข่อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้คนไทยเจ็บป่วยและตายด้วยโรคติดต่อและไม่ติดต่อที่มีสาเหตุมาจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งมีอัตราป่วยต่อแสนประชากรดังนี้ โรคมะเร็งทุกชนิด 119.10โรคความดันโลหิตสูง708.74 โรคหัวใจและหลอดเลือด 901.31 และสำหรับอัตราตายต่อแสนประชากรมี ดังนี้โรคมะเร็งทุกชนิด85.04 โรคความดันโลหิตสูง 3.64และโรคหัวใจและหลอดเลือด 55.29 (ข้อมูลจากสำนักโรคไม่ติดต่อกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขพ.ศ. 2550)ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมเสี่ยงร่วมที่ไม่ถูกต้อง ได้แก่การขาดการออกกำลังกายที่ถูกต้อง การรับประทานอาหารที่มันจัด เค็มจัด หวานจัดรวมทั้งผักและผลไม้ที่ไม่เพียงพอ ความเครียด การสูบบุหรี่และดื่มสุรา เป็นต้น และจากสำรวจการสำรวจของกรมอนามัยในปี 2550พบว่าคนไทยเพียง 5 ล้านคนเท่านั้นที่มีการออกกำลังกายเพียงพอที่จะช่วยป้องกันโรคได้สำหรับการรับประทานอาหารนั้นจากการสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยอายุมากกว่า 15 ปี โดยการตรวจร่างกายครั้ง ที่ 3 ของภาควิชาโภชนาวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลและภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลโดยเก็บจากประชากรกลุ่มศึกษา อายุมากกว่า 15 ปี จำนวน 39, 290 คน พบว่า กลุ่มศึกษามีความถี่เฉลี่ยการบริโภคผักและผลไม้เท่ากับ 5.97 และ 4.56 วันต่อสัปดาห์ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่าประชากรไทยส่วนมากบริโภคผักและผลไม้ไม่เพียงพอจึงจำเป็นต้องดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องทุกระดับรวมทั้งประชาชนอย่างจริงจัง เพื่อให้ประชาชนมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอ สัปดาห์ละอย่างน้อย 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการรับประทานผักสดและผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม)และลดอาหารไขมันซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดลง       จากการคัดกรองประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ปี 2562  ในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.ในนิคมฯบ้านลานข่อย จังหวัดพัทลุง ผลการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง พบว่าอยู่ในกลุ่มเสี่ยงร้อยละ 35.96 กลุ่มสงสัยป่วย ร้อยละ 5.22 และผลการคัดกรองโรคเบาหวาน พบว่า อยู่ในกลุ่มเสี่ยงร้อยละ 25.13  กลุ่มสงสัยป่วยร้อยละ 2.14 หากไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จะทำให้เจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ประเทศชาติต้องเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลที่เพิ่มขึ้น ดังนั้นทางชมรม อสม และเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในนิคมฯบ้านลานข่อย ได้ตระหนักถึงปัญหาสุขภาพของประชาชน ไม่ให้ป่วยเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ฯลฯ จึงได้จัดทำโครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็ง หัวใจและหลอดเลือด ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ประชาชนมีพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3 – 5 วัน เพิ่มขึ้น
  2. ประชาชนมีพฤติกรรมการกินผัก ผลไม้สด ปลอดสารพิษทุกวันๆละครึ่งกิโลกรัมต่อวันต่อคน เพิ่มขึ้น
  3. ประชาชนเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมคัดกรองสุขภาพ(ความดันโลหิตสูง/เบาหวาน/สารเคมีตกค้างในเลือด)ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป
  2. จัดอบรมให้ความรู้
  3. กิจกรรมฝึกทักษะการออกกำลังกาย
  4. กิจกรรมอบรมการปลูกผักปลอดสารพิษและการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
  5. กิจกรรมอบรมการออกกำลังกาย และสร้างกระแสการออกกำลังกาย
  6. สรุปผลการดำเนินงานและจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เสวนาเรื่องสุขภาพ สาธิตการออกกำลังกาย สาธิตเมนูอาหาร มอบเกียรติบัตรบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ประชาชนในหมู่บ้านมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางที่เหมาะสมอย่างน้อย3 พฤติกรรม คือ กินผัก ผลไม้สด ปลอดสารพิษทุกวันอย่างน้อยวันละครึ่งกิโลกรัมต่อวันต่อคน ลดการกินอาหารที่มีไขมันสูง และออกกำลังกายตามวัยที่เหมาะสมอย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3-5 วัน 2 เกิดหมู่บ้านต้นแบบที่เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่ลดความเสี่ยงโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูงโรคหัวใจและหลอดเลือด มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ประชาชนมีพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3 – 5 วัน เพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างน้อยวันละ ๓๐ นาที สัปดาห์ละ3 – 5 วัน ร้อยละ 80
1.00

 

2 ประชาชนมีพฤติกรรมการกินผัก ผลไม้สด ปลอดสารพิษทุกวันๆละครึ่งกิโลกรัมต่อวันต่อคน เพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีพฤติกรรมการกินผัก ผลไม้สด ปลอดสารพิษทุกวันๆละครึ่งกิโลกรัมต่อวันต่อคน ร้อยละ 80
1.00

 

3 ประชาชนเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ลดลง
ตัวชี้วัด : ประชาชนเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ลดลงร้อยละ 10
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชาชนมีพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3 – 5 วัน เพิ่มขึ้น (2) ประชาชนมีพฤติกรรมการกินผัก ผลไม้สด ปลอดสารพิษทุกวันๆละครึ่งกิโลกรัมต่อวันต่อคน เพิ่มขึ้น (3) ประชาชนเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองสุขภาพ(ความดันโลหิตสูง/เบาหวาน/สารเคมีตกค้างในเลือด)ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป (2) จัดอบรมให้ความรู้ (3) กิจกรรมฝึกทักษะการออกกำลังกาย (4) กิจกรรมอบรมการปลูกผักปลอดสารพิษและการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ (5) กิจกรรมอบรมการออกกำลังกาย และสร้างกระแสการออกกำลังกาย (6) สรุปผลการดำเนินงานและจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้    เสวนาเรื่องสุขภาพ  สาธิตการออกกำลังกาย  สาธิตเมนูอาหาร  มอบเกียรติบัตรบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็ง หัวใจและหลอดเลือด ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3348-2-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายแผ้ว กรรณราย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด