กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาประดู่


“ โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ (ต่อเนื่อง) ”

ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสุธาทิพย์ จันทคาร

ชื่อโครงการ โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ (ต่อเนื่อง)

ที่อยู่ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62L8015101 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ (ต่อเนื่อง) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ (ต่อเนื่อง)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ (ต่อเนื่อง) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62L8015101 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบเป็นอันดับ 2 ของมะเร็งในสตรีทั่วโลก รองลงมาจากมะเร็งเต้า นม สำหรับในประเทศไทยมะเร็งปากมดลูก เป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดในมะเร็งของสตรีไทย  สาเหตุของ มะเร็งปากมดลูกที่แท้จริงไม่ทราบแน่นอน แต่สาเหตุสำคัญเท่าที่วิทยาการทางการแพทย์ตรวจพบได้ในปัจจุบัน คือ การติดเชื้อ human papilloma virus หรือ HPV บริเวณปากมดลูก เป็นสาเหตุจำเพาะของมะเร็ง ปากมดลูก ปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ เป็นเพียงปัจจัยส่งเสริมทำให้ปากมดลูกมีโอกาสติดเชื้อ HPV ได้มากขึ้นหรือ ง่ายขึ้น เช่นการมีคู่นอนหลายคน การมีเพศสัมพันธ์เมื่ออายุน้อย หรือการตั้งครรภ์เมื่ออายุน้อย มะเร็งปาก มดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดเป็นอันดับ 1 ในผู้หญิงไทย และจะมีอัตราการเสียชีวิต เกินครึ่งหนึ่งเลย ทีเดียว และเป็นต้นเหตุทำให้ผู้หญิงทั่วโลกเสียชีวิตมากกว่าปีละ 270,000 คน หรือเฉลี่ยวันละ 650 คน โดยมีสถิติของผู้เสียชีวิตเฉลี่ยสูงถึง 7 คนต่อวัน แต่โรคมะเร็งปากมดลูกสามารถรักษาให้หาย และมีความ เป็นไปได้ในการที่จะกำจัดให้หมดไปจากประเทศไทย หากตรวจพบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรก หรือระยะ ก่อนเป็นมะเร็ง  ปัญหาสำคัญคือ คนไทยร้อยละ 50 มักไปพบแพทย์ขณะที่โรคลุกลามแล้ว ซึ่งยากต่อการ รักษาให้หาย ผู้ป่วยมักเสียชีวิต รวมทั้งเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลจำนวนมาก
      ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาประดู่ จึงเห็นความสำคัญของการป้องกันการเกิดมะเร็ง ปากมดลูกโดยการตรวจคัดกรองค้นหามะเร็งปากมดลูกในสตรีเป้าหมายกลุ่มอายุ 30-60 ปี จากการ ดำเนินงานปี 2558 มีกลุ่มเป้าหมาย 555 คน ได้รับการคัดกรอง 111 คน คิดเป็นร้อยละ 20 ผ่านเกณท์ เจอเซลล์ผิดปกติ 1 ราย ได้ส่งรับการส่งต่อโรงพยาบาลปัตตานี พบติดเชื้อรา 13 ราย ได้รายงานแพทย์สั่งยา รักษาทั้ง 13 ราย พบการอักเสบ 16 ราย ซึ่งได้นัดตรวจซ้ำอีก 6 เดือน ในปี 2559 มีกลุ่มเป้าหมาย 640 คน  ได้รับการคัดกรอง 128 คน ผ่านเกณท์ 20 % ไม่พบเซลส์ผิดปกติ แต่พบมีการอักเสบ 23 ราย ติดเชื้อราและแบคทีเรีย 13 ราย ไดัรับยาทั้งหมด 36 ราย คิดเป็นร้อยเปอร์เซ็นต์ ปี 2560 มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 450 คน ได้รับคัดกรอง 90 คน คิดเป็นร้อยละ 20 พบความผิดปกติเต้านม 1 ราย ได้ส่งต่อโรงพยาบาลโคกโพธิ์ ส่วนผลมะเร็งปากมดลูกกำลังดำเนินการอ่านผลที่โรงพยาบาลโคกโพธิ์ใน ปี 2561 มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 395 คน ได้รับการคัดกรองทั้งหมด 79 คน คิดเป็นร้อยละ 20 พบความผิดปกติของเซลส์มะเร็ง 3 ราย ได้ส่งต่อโรงพยาบาลปัตตานีเพื่อทำการรักษาต่อและยืนยันผล ในปี 2562 มีกลุ่มเป้าหมาย 375 คน ต้องได้รับการคัดกรอง 75 คน คิดเป็นร้อยละ 20

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้สตรี อายุ 30 ถึง 60 ปี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
  2. 2.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและสามารถคัดกรองเต้านมด้วยตนเองได้
  3. 3.สตรีอายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
  4. 4.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้/รณรงค์/ประชาสัมพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 75
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมตระหนักถึงการมารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม       2.สตรีวัยเจริญพันธ์อายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี Pap smear ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
  3.สตรีที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อรับการ รักษาที่ถูกต้องเหมาะสมร้อยละ 100


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้/รณรงค์/ประชาสัมพันธ์

วันที่ 29 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ ระหว่างวันที่ 29-30 สิงหาคม 2562

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าอบรมมีความรู้และปฏิบัติได้ถูกต้อง

 

75 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินโครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพได้ทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายมาเข้าร่วมโครงการดดยให้อสม.นำหนังสือเชิญไปให้กลุ่มเป้าหมาย และได้เชิญวิทยากรจากโรงพยาบาลโคกโพธิ์ให้ความรู้ คัดกรองมะเร็งเต้านมและ มะเร็งปากมดลูกกลุ่มหญิงวัย 30-60 ปี และนำทีม Pap smear จากรพ.สต.โคกอ้น มาช่วยตรวจคัดกรองซึ่งกลุ่มเป้าหมายไม่รู้จักทำให้ลดความอายในการตรวจ ทำให้มีผู้เข้าร่วมโครงการครบตามเป้าหมายจำนวน 75 คน ครบ 100% ผลการคัดกรองไม่พบความผิดปกติของเต้านม ส่วนผล Pap smear ได้นำส่งตรวจที่โรงพยาบาลโคกโพธิ์ยังไม่ทราบผลการตรวจ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้สตรี อายุ 30 ถึง 60 ปี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 สตรี อายุ 30 ถึง 60 ปี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
1.00

 

2 2.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและสามารถคัดกรองเต้านมด้วยตนเองได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและสามารถคัดกรองเต้านมด้วยตนเองได้
1.00

 

3 3.สตรีอายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
ตัวชี้วัด : สตรีอายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 จากทั้งสิ้น 375 คน คือ 75 คนในปี 2562
1.00

 

4 4.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 75
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 75
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้สตรี อายุ 30 ถึง 60 ปี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม (2) 2.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการมารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและสามารถคัดกรองเต้านมด้วยตนเองได้ (3) 3.สตรีอายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 (4) 4.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้/รณรงค์/ประชาสัมพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ (ต่อเนื่อง) จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62L8015101

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุธาทิพย์ จันทคาร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด