กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มประมงพื้นบ้าน
รหัสโครงการ 60-L3013-02-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มสะพานไม้บานา
วันที่อนุมัติ 21 กุมภาพันธ์ 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 21 มีนาคม 2562 - 29 มีนาคม 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 เมษายน 2562
งบประมาณ 17,150.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอนันท์ อาบูลี
พี่เลี้ยงโครงการ นายอับดุลกอเดร์ การีนา
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 21 มี.ค. 2562 29 มี.ค. 2562 17,150.00
รวมงบประมาณ 17,150.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในชุมชนหมู่ที่ 2 และ หมู่ที่ 3 มีคนที่ประกอบอาชีพประมงประมาณ40ครอบครัวมีการจับสัตว์น้ำตามฤดูกาลจากการทำอาชีพประมงมีความเสียงเช่นการออกเรือหาปลาในช่วงมรสุมหรือกระทั้งการจับสัตว์น้ำประเภทหอยที่ไม่ได้สวมใส่ถุงมือในช่วงปี2559มีคนจมน้ำเสียชีวิต1รายจากการไม่สวมใส่เสื้อชูชีพกลุ่มประมงยังขาดความรู้ความตระหนักในการป้องกันเพราะมีความเคยชินกับอาชีพที่ทำตลอดจนแม้นแต่ขั้นตอนของการซ่อมสร้างเรือที่ต้องสัมผัสกับสีทาเรือซึ่งสีมีส่วนผสมของตะกั่วอาจส่งผลต่อร่างกายหากมีการสะสมเป็นเวลานานมีผลทำให้สุขภาพของผู้ทำงานมีความเจ็บป่วย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคในกลุ่มแรงงานนอกระบบกลุ่มประมงพื้นบ้านที่มีความเสียง อันตรายจากการทำงาน

ร้อยละ 80 ของกลุ่มแรงงานนอกระบบ  กลุ่มประมงพื้นบ้านที่มีความเสียง  อันตรายจากการทำงาน

0.00
2 เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันโรคและการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมในระดับชุมชน

ร้อยละ 80 ของการเข้าใจในการป้องกันโรคและการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมในระดับชุมชน

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 17,150.00 0 0.00
??/??/???? อบรมเรื่องโรคและโทษพิษภัยของสารตะถั่ว -ให้ความรู้ด้านสิทธิประโยชน์ ด้านบริการสุขภาพ เช่น บัตรประกันสัง 0 5,400.00 -
??/??/???? -อบรมให้ความรู้เรื่องการเคลื่อนไหวร่างกาย การยืด คลายกล้ามเนื้อ -การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค -อบรมให้ความรู้ฝึกทักษะการป้องกันการจมนำ้ 0 6,750.00 -
??/??/???? - ตรวจสุขภาพการมองเห็นของการทำงาน 0 5,000.00 -

(1). สำรวจข้อมูล     - จัดทำระเบียบรายชื่อ/จัดทำประเมินความเสียงจากการทำงานปัญหาความเสียง อันตรายจากการทำงานของกลุ่มประมงพื้นบ้านโดยใช้เครื่องมือการวิเคราะห์ความสียงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบตามหลักสูตรการพัฒนาแกนนำอาสาสมัครอาชีวอนามัยในระดับชุมชนท้องถิ่น ที่จัดทำโดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.แสงอรุณ อิสระมาลัย และอาจารย์กนกวรรณ หวนศรีคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยยสงขลานครินทร์ (2). คัดกรอง/ตรวจสุขภาพ     - การเจาะเลือด เพื่อหาสารตะถั่วตกค้างในเลือดโดยศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 12 สงขลา และรพ.สต.ในพื้นที่     - การตรวจสายตา (3). อบรมให้ความรู้     - โทษพิษภัยของสารตะถั่ว ซึ่งเป็นส่วนผสมของสีทาเรือโดยวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 12 สงขลา และรพ.สต.ในพื้นที และความรู้ด้านสิทธิประโยชน์     - การจัดบริการสุขภาพ เช่น บัตรทอง บัตรประกันสังคม     - การออกกำลังกาย  การยืดเหยียดกล้ามเนื้อ     - การจัดการขยะ คัดแยกขยะ       (4). จัดทำแผนป้องกันตนเองของชุมชน โดยการเผยแพร่ รณรงค์ประชาสัมพันธ์         - การใช้อุปกรณ์ป้องกันในระดับบุคคล เช่น การสวมผ้าปิดจมูก ถุมมือ  เสือแขนยาวฯ         - จัดทำข้อตกลงของชุมชน ในการจัดการขยะประเภทถังสีและขยะประเภทอื่นๆในชุมชน เพื่อลดสารตะถั่วลงสู่ชันผิวดิน แหล่งน้ำ สัตว์น้ำในพื้นที่         - ติดตามประเมินผล กลุ่มเป้าหมายที่รับการเจาะเลือดเพื่อดุความเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย ระยะเวลา .... เดือน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. กลุ่มประมงพื้นบ้านได้รับการคัดกรอง/ตรวจสุขภาพ
  2. กลุ่มประมงพื้นบ้านมีความรู้ความเข้าใจการป้องกันโรคความเสียงจากการทำงาน
  3. กลุ่มประมงพื้นบ้านเกิดความตระหนักในการป้องกันตนเองเพื่อลดความเสียงอันตรายจากการทำงาน
  4. เกิดการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมในระดับชุมชน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 8 ก.พ. 2562 11:06 น.